"..การมาทับมิ่งขวัญนี้ เป็นการเริ่มต้นชีวิตใหม่ ต้องเป็นคนจริง ทำจริง พูดจริง เมื่อทำจริง พูดจริงก็ต้องรู้ของจริง จริงๆ.."
หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ 12 กรกฎาคม 2530
www.wattubmingkwan.com เวบหลัก วัดทับมิ่งขวัญ เวบนี้เป็นเพียง เวบสำรองครับผู้จัดทำ 9 มิถุนายน 2555

พระอภิธรรม


ภาค  6  พระอภิธรรม

1.พระสังคิณี
กุสะลาธัมมา,                   ธรรมทั้งหลายที่เป็นกุศล,
อะกุสะลา  ธัมมา,       ธรรมทั้งหลายที่เป็นอกุศล,
อัพยากะตา  ธัมมา,     ธรรมทั้งหลายที่เป็นอัพยากฤต,
กะตะเม ธัมมา กุสะลา, ธรรมเหล่าไหนเป็นกุศล,
ยัสะมิง  สะมะเย,        ในสมัยใด,
กามาวะจะรัง   กุสะลัง จิตตังอุปันนังโหติ,  กามา
                              วจรกุศลจิตที่ร่วมด้วยโสมนัส,
โสมะนัสสะสะหะคะตัง  ญาณะสัมปะยุตตัง,ประกอบด้วย
                               ญาณเกิดขึ้นปรารภอารมณ์ใดๆ,
รูปารัมมะนัง  วา,       จะเป็นรูปารมณ์ก็ดี,
สัททารัมมะนัง  วา,     สัททารมณ์ก็ดี,
คันธารัมมะนัง วา,      คันธารมณ์ก็ดี,
ระสารัมมะนัง  วา,       รสารมณ์ก็ดี,
โผฏฐัพพารัมมะนัง วา, โผฐฐัพพารมณ์ก็ดี,
ธัมมารัมมะนัง  วา,       ธรรมารมณ์ก็ดี,
ยัง ยัง วา ปะนารัพภะ, ตัสมิง สะมะเย  ผัสโส โหติ, 
                              ในสมัยนั้น  ผัสสะและ
                                 ความไม่ฟุ้งซ่านย่อมมี,
อะวิกเขโป  โหติ,          อย่างหนึ่งในสมัยนั้นธรรมเหล่าใด,
เยวา ปะนะตัสมิง สะมะเยแม้อื่นมีอยู่เป็นธรรมที่ไม่มีรูป,
อัญเญปิ  อัตถิ  ปะฏิจจะสมุปปันนา อะรูปิโน
ธัมมา,                     อาศัยกันและกันเกิดขึ้น,
อิเม  ธัมมา  กุสะลา,    ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล.

         2.พระวิภังค์

ปัญจักขันธา,                  ขันธ์ห้าคือ:(ส่วนประกอบชีวิต;)
รูปักขันโธ,                      รูปขันธ์,  (ส่วนที่เป็นรูป) 
เวทะนากขันโธ,              เวทนาขันธ์, (ความรู้สึกกระทบ)
สัญญากขันโธ,                สัญญาขันธ์ (ความจำได้หมายรู้)
สังขารักขันโธ,                สังขารขันธ์(ความคิดปรุงแต่ง)
      วิญญาณักขันโธ,             วิญญาณขันธ์,  (ความรับรู้)
ตั ตถะ กะตะโม รูปักขันโธ, บรรดาขันธ์ทั้งหมด
                                          รูปขันธ์ เป็นอย่างไร;
ยังกิญจิ  รูปัง,                   รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง,
อะตีตานาคะตะปัจจุปันนัง, เป็นอดีตอนาคตและปัจจุบัน,
อัชณัตตัง วา,                   ภายในก็ตาม,
พะหิทธา วา,                    ภายนอกก็ตาม,
โอฬาริกัง วา สุขุมังวา,    หยาบก็ตาม  ละเอียดก็ตาม,
หีนัง  วา  ปะณีตัง  วา,     เลวก็ตาม  ประณีตก็ตาม,
ยัง ทูเร วา สันติเก  วา,   อยู่ไกลก็ตาม อยู่ใกล้ก็ตาม,
ตะเทกัชฌังอะภิสัญญูหิตวาอะภิสังขิปิตวา,
                                         ย่นกล่าวร่วมกัน,
อะยัง วุจจะติ รูปักขันโธ,    เรียกว่ารูปขันธ์.

3.พระธาตุกถา
สังคะโห  อะสังคะโห     การสงเคราะห์การ
                                ไม่สงเคราะห์ คือ,
สังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง, สิ่งที่ไม่สงเคราะห์เข้า
                                กับสิ่งที่สงเคราะห์แล้ว,
อะสังคะหิเตนะสังคะหิตัง, สิ่งที่สงเคราะห์เข้ากับ
                                          สิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้,
สังคะหิเตนะ สังคะหิตัง,  สิ่งที่สงเคราะห์ เข้า 
                                กับสิ่งที่สงเคราะห์ได้,
    อะสังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง, สิ่งที่ไม่สงเคราะห์เข้า
                                                   กับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้,
สัมปะโยโค วิปปะโยโค,        การอยู่ด้วยกัน
                                     การพลัดพรากคือ,
สัมปะยุตเตนะ วิปปะยุตตัง,  การพลัดพรากจาก
                                     สิ่งที่อยู่  ด้วยกัน,                                                          
วิปปะยุตเตนะ สัมปะยุตตัง,  การอยู่ร่วมกับสิ่ง
                                     ที่พลัดพรากไป,
อะสังคะหิตัง,                          จัดเป็นสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้;

                             4.พระบุคคลบัญญัติ
ฉะปัญญัตติโย,                  บัญญัติ 6 ประการ,
ขันธะปัญญัตติ,                  ขันธบัญญัติ,
อายะตะนะปัญญัตติ,          อายตนบัญญัติ, 
ธาตุปัญญัตติ,                        ธาตุบัญญัติ,
สัจจะปัญญัตติ                 สัจจะบัญญัติ, 
อินทริยะปัญญัตติ,                 อินทรีย์บัญญัติ,
ปุคคะละปัญญัตติ,             บุคคลบัญญัติ, 
กิตตาวะตา ปุคคะลานัง ปุคคะละปัญญัตติ, บุคคล 
                                      บัญญัติของบุคคลมีเท่าไร,
สะมะยะวิมุตโต  อะสะมะยะ  วิมุตโต,  ผู้พ้นในกาลบาง
                                      คราวผู้พ้นอย่างเด็ดขาด,
กุปปะธัมโม  อะกุปปะธัมโมผู้มีธรรมที่กำเริบได้, 
                                              ผู้มีธรรมที่กำเริบไม่ได้,
ปะริหานะธัมโม   อะปะริหานะ ธัมโมผู้มีธรรมที่เสื่อมได้,
                                  ผู้มีธรรมที่เสื่อมไม่ได้,
เจตะนาภัพโพ อะนุรักขะนาภัพโพ, ผู้มีธรรมที่ควรแก่   
                                           เจตนา ผู้มีธรรมที่ควรแก่
                                          การรักษา,
ปุถุชชะโน โคตระภู,     ผู้เป็นปุถุชน ผู้คร่อมโคตร,
ภะยูปะระโต อะภะยูปะระโต, ผู้เว้นชั่วเพราะกลัว,
                          ผู้เว้นชั่วไม่ใช่เพราะกลัว,
ภัพพาคะมะโน อะภัพพาคะมะโน,  ผู้ไม่ถึงสิ่งที่ควร
                               ผู้ถึงสิ่งที่ไม่ควร,
นิยะโต  อะนิยะโต,     ผู้เที่ยง ผู้ไม่เที่ยง,
ปะฏิปันนะโก ผะเลฏฐิโต, ผู้ปฏิบัติผู้ตั้งอยู่ในผล,
อะระหา อะระหัตตายะ ปะฏิปันโน,  ผู้เป็นพระอรหันต์
                                        ผู้ปฏิบัติเพื่อเป็น พระอรหันต์,

                       พระกถาวัตถุ
ปุคคะโล อุปะลัพภะติ, ค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์, 
สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ,  คือความหมายอันแท้จริงหรือ,
อามันตาโย สัจฉิกัตโถ ปะระมัตโถ ตะโต โส ปุคคะโล  อุปะลัพพะติ  สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ ปรมัตถ์คือ
                             ความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่,
                                ค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์
                                คือโดยความหมายอัน แท้จริง
                                อันนั้นหรือ,
นะ เหวัง  วัตตัพเพ  อาชานาหิ นิคคะหัง, ท่านไม่ควร
                             กล่าวอย่างนั้น ท่านจงรู้นิคหะเถิด,
หัญจิ  ปุคคะโล  อุปะลัพภะติ,  สัจฉิ  กัตถะปะระมัตเถ นะ  เตนะ วะตะ  เร   วัตตัพเพ, ถ้าท่านค้นหาบุคคลไม่ได้
                              โดยปรมัตถ์คือโดยความหมายอัน               
                              แท้จริงแล้วท่านก็ควรกล่าวด้วย
                              เหตุนั้นว่าปรมัตถ์, คือความหมาย
                              อันแท้จริงอันใดมีอยู่เราค้นหา
                             บุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์, คือ
                             โดยความ หมายอันแท้จริงนั้น, 
โย  สัจฉิกัตโถ  ปะระมัตโถ  ตะโต  โส  ปุคคะโล 
อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ  มิจฉา,
                               คำตอบของท่านที่ว่าปรมัตถ์
                               คือความหมายอันแท้จริง อัน
                             ใดมีอยู่ เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ 
                               ได้โดยปรมัตถ์,  คือโดยความ
                               หมายอันแท้จริง อันนั้นจึงผิด,

 6.พระยมก
เย  เกจิ  สุสะลา  ธัมมาธรรมบางเหล่าเป็นกุศล,
สัพเพ เต กุสะละมูลา,     ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีกุศลเป็นมูล,
เย วา ปะนะ กุสะละมูลา,  อีกอย่างหนึ่งธรรมเหล่าใดมี
                               กุศลเป็นมูล,
สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา,  ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดก็เป็นกุศล,
เย เกจิ กุสะลา ธัมมา,    ธรรมบางเหล่าเป็นกุศล,
สัพเพ เต  กุสะละมูเลนะ   เอกะมูลา, ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี
                                        อันเดียวกับธรรมที่มีกุศลเป็นมูล,
เย วา ปะนะ  กุสะละมูเลนะ  เอกะมูลา, อีกอย่างหนึ่ง     
                               ธรรมเหล่าใด มีมูลอันเดียว
                               กับธรรมที่มีกุศลเป็นมูล,
สัพเพ เต ธัมมากุสะลา,  ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศล.

7. พระมหาปัฏฐาน
เหตุปัจจะโย,                ธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัย,
อารัมมะณะปัจจะโย    ธรรมที่มีอารมณ์เป็นปัจจัย
อะธิปะติปัจจะโย,         ธรรมที่มีอธิบดีเป็นปัจจัย,
อะนันตะระปัจจะโย,     ธรรมที่มีปัจจัยไม่มีอะไรคั่นใน
                                ระหว่าง,
สะมะนันตะระปัจจะโย,  ธรรมที่มีปัจจัยมีที่สุดเสมอกัน,
สะหะชาตะปัจจะโย,    ธรรมที่เกิดพร้อมกับปัจจัย,
อัญญะมัญญะปัจจะโย, ธรรมที่เป็นปัจจัยของกันและกัน,
นิสสะยะปัจจะโย,        ธรรมที่มีนิสัยเป็นปัจจัย,
อุปะนิสสะยะปัจจะโย,  ธรรมที่มีอุปนิสัยเป็นปัจจัย,
ปุเรชาตะปัจจะโย,       ธรรมที่มีการเกิดก่อนเป็นปัจจัย,
ปัจฉาชาตะปัจจะโย,    ธรรมที่มีการเกิดหลังเป็นปัจจัย,
อาเสวะนะปัจจะโย,     ธรรมที่มีการเสพเป็นปัจจัย,
กัมมะปัจจะโย,           ธรรมที่มีกรรมเป็นปัจจัย,
วิปากะปัจจะโย,          ธรรมที่มีวิบากเป็นปัจจัย,
อาหาระปัจจะโย,         ธรรมที่มีอาหารเป็นปัจจัย,
อินทริยะปัจจะโย,       ธรรมที่มีอินทรีย์เป็นปัจจัย,
ฌานะปัจจะโย,           ธรรมที่มีฌาณเป็นปัจจัย,
มัคคะปัจจะโย,           ธรรมที่มีมรรคเป็นปัจจัย,
สัมปะยุตตะปัจจะโย,   ธรรมที่มีการประกอบเป็นปัจจัย,
วิปปะยุตตะปัจจะโย,     ธรรมที่ไม่มีการประกอบเป็นปัจจัย,
อัตถิปัจจะโย,            ธรรมที่มีปัจจัย,
นัตถิปัจจะโย,            ธรรมที่ไม่มีปัจจัย,
วิคะตะปัจจะโย,         ธรรมที่มีการอยู่
                             ปราศจากเป็นปัจจัย,
อะวิคะตะปัจจะโย,      ธรรมที่มีการอยู่ไม่
                             ปราศจากเป็นปัจจัย,

8.ธัมมะสังคิณีมาติกา
 (หันทะ มะยัง ธัมมะสังคิณีมาติกะคาถาโย ภะณามะ เส)
กุสะลา  ธัมมา,             ธรรมที่เป็นกุศล  ก็มี,
อะกุสะลา  ธัมมา,           ธรรมที่เป็นอกุศล  ก็มี,
อัพยากะตา  ธัมมา,           ธรรมไม่เป็นทั้งกุศลและอกุศลก็มี,
สุขายะ  เวทะนายะ สัมปะยุตตา ธัมมาธรรมที่ประ
                                         กอบด้วยความรู้สึกเป็นสุขก็มี,

ทุกขายะ  เวทะนายะ  สัมปะยุตตา ธัมมา, ธรรมที่ประ 

                               กอบด้วยความรู้สึกเป็นทุกข์ ก็มี,

อะทุกขะมะสุขายะ  เวทะนายะ สัมปะยุตตา ธัมมา,   
                             ธรรมที่ประกอบด้วยความ
                             รู้สึกไม่สุขไม่ทุกข์ ก็มี,
วิปากา  ธัมมา                ธรรมที่เป็นผล ก็มี,
วิปากะธัมมะ  ธัมมา,  ธรรมที่เป็นเหตุแห่งผล ก็มี,
เนวะวิปากะนะวิปากะ  ธัมมะ ธัมมา, ธรรมที่ทั้งไม่เป็น
                                        ผลและไม่เป็นเหตุแห่งผล ก็มี,
อุปาทิน   นุปาทานิยา  ธัมมา,  ธรรมที่ถูกยึดมั่น และ
                                        เป็นที่แห่งความยึดมั่น ก็มี,
อะนุปาทินนุปาทานิยา ธัมมา,  ธรรมที่ไม่ถูกยึดมั่น แต่
                                       เป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น ก็มี,
อะนุปาทินนานุปาทานิยาธัมมาธรรมที่ทั้งไม่ถูกยึดมั่นและ
                             ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น ก็มี,
สังกิลิฏฐะสังกิเลสิกา   ธัมมา, ธรรมที่เศร้าหมองและเป็น
                                      ที่ตั้งแห่งความเศร้าหมองได้ ก็มี,
อะสังกิลิฏฐะสังกิเลสิกา ธัมมา,ธรรมที่ไม่เศร้าหมองแต่เป็น
                                     ที่ตั้งแห่งความเศร้าหมองได้ ก็มี,
ะสังกิลิฏฐาสังกิเลสิก ธัมมา, ธรรมที่ทั้งไม่เศร้าหมองและไม่
                                  เป็นที่ตั้งแห่งความเศร้าหมองได้ ก็มี,
สะวิตักกะสะวิจารา ธัมมาธรรมที่มีวิตก  คือความตรึก
                                     และมีวิจาร คือความตรอง ก็มี,
อะวิตักกะวิจาระมัตตา ธัมมา, ธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกมีแต่
                             วิจาร ก็มี,
อวิตักกาวิจารา ธัมมา,  ธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ก็มี,
ปีติสะหะคะตา ธัมมา, ธรรมที่เป็นไปพร้อมกับความ
                             เอิบอิ่มใจ ก็มี,
สุขะสะหะคะตา ธัมมา,  ธรรมที่เป็นไปพร้อมกับความสุขก็มี,
อุเปกขาสะหะคะตา  ธัมมา,  ธรรมที่เป็นไปพร้อมกับความ
                                วางเฉยก็มี,
ทัสสะเนนะปะหาตัพพา ธัมมาธรรมที่พึงละด้วยทัศนะก็มี,
ภาวะนายะ ปะหาตัพพา ธัมมา, ธรรมที่พึงละด้วยภาวนาก็มี,
เนวะ  ทัสสะเนนะ  นะ  ภาวะนายะ
ปะหาตัพพา ธัมมา,     ธรรมที่ละไม่ได้ทั้งด้วยทัศนะ   
                              และด้วยภาวนา ก็มี,
ทัสสะเนนะ  ปะหาตัพพะเหตุกา ธัมมา, ธรรมมีสา-
                                          เหตุที่พึงละด้วยทัศนะก็มี,
ภาวะนายะ  ปะหาตัพพะเหตุกา  ธัมมาธรรมมี
                                         สาเหตุที่พึงละด้วยภาวนาก็มี,
เนวะ  ทัสสะเนนะ  นะ   ภาวะนายะ  ปะหาตัพพะ 
เหตุกา ธัมมา,                ธรรมมีสาเหตุที่ละมิได้ด้วย
                                       ทัศนะและมิได้ด้วยภาวนาก็มี,
อาจะยะคามิโน  ธัมมา,  ธรรมที่นำไปสู่การสั่งสม ก็มี,
อะปะจะยะคามิโน  ธัมมา, ธรรมที่นำไปสู่ความ
                                        ปราศจากการสั่งสม  ก็มี,
เนวาจะยะคามิโน  นาปะจะยะคามิโน ธัมมา, ธรรม
                                          ที่ไม่นำไปทั้งสู่การสั่งสม  และ
                                        สู่ความปราศจากการสั่งสมก็มี,
เสกขา  ธัมมา           ธรรมที่เป็นของอริยบุคคล
                               ผู้ยัง ต้องศึกษาอยู่  ก็มี,
อะเสกขา  ธัมมา,         ธรรมที่เป็นของผู้บรรลุอรหัต- 
                                    ผล ซึ่งไม่ต้องศึกษาแล้ว ก็มี,
เนวะเสกขา  นาเสกขา   ธัมมาธรรมที่ไม่เป็นทั้งของผู้ยัง
                                         ต้องศึกษาและผู้ไม่ต้องศึกษาก็มี,
ปะริตตา  ธัมมา,               ธรรมที่ยังเล็กน้อย  ก็มี,
มะหัคคะตา  ธัมมา,       ธรรมที่ถึงภาวะใหญ่แล้วก็มี,
อัปปะมาณา  ธัมมา       ธรรมที่ประมาณมิได้ ก็มี,
ปะริตตารัมมะณา ธัมมา,  ธรรมที่มีสภาวะที่ยัง
                                             เล็กน้อยเป็นอารมณ์ ก็มี,
มะหัคคะตารัมมะณา ธัมมา, ธรรมที่มีสภาวะที่ถึงภาวะ
                                            ใหญ่แล้วเป็นอารมณ์ก็มี,
อัปปะมาณารัมมะณา ธัมมาธรรมที่มีสภาวะอันประ
                                  มาณมิได้เป็นอารมณ์ ก็มี,
หีนา  ธัมมา,                         ธรรมอย่างทราม ก็มี,
มัชฌิมา  ธัมมา,                   ธรรมอย่างกลาง ก็มี,
ปะณีตา  ธัมมา,             ธรรมอย่างประณีต ก็มี,
มิจฉัตตะนิยะตา  ธัมมา,   ธรรมที่แน่นอน ฝ่ายผิดก็มี,
สัมมัตตะนิยะตา ธัมมา,  ธรรมที่แน่นอนฝ่ายถูก ก็มี,
อะนิยะตา  ธัมมา,                ธรรมที่ไม่แน่นอน ก็มี,
มัคคารัมมะณา  ธัมมา,   ธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ก็มี,
มัคคะเหตุกา  ธัมมา,    ธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุ ก็มี,
มัคคาธิปะติโน  ธัมมา,    ธรรมที่มีมรรคเป็นประธานก็มี,
อุปปันนา  ธัมมา,              ธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ก็มี,
อะนุปปันนา  ธัมมา,     ธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้น ก็มี,
อุปปาทิโน  ธัมมา,               ธรรมที่จักเกิดขึ้น ก็มี,
อะตีตา  ธัมมา,                  ธรรมที่เป็นอดีต  ก็มี,
อะนาคะตา ธัมมา,            ธรรมที่เป็นอนาคต ก็มี,
ปัจจุปปันนา  ธัมมา,       ธรรมที่เป็นปัจจุบันก็มี,
อะตีตา รัมมะณา ธัมมา,  ธรรมที่มีอดีตเป็นอารมณ์ก็มี,
อะนาคะตารัมมะณา ธัมมา,ธรรมที่มีอนาคตเป็นอารมณ์ก็มี,
ปัจจุปปันนารัมมะณา ธัมมา, ธรรมที่มีปัจจุบันเป็น
                                      อารมณ์ก็มี,
อัชฌัตตา  ธัมมา,        ธรรมภายใน  ก็มี,
พะหิทธา  ธัมมา,         ธรรมภายนอก  ก็มี,
    อัชฌัตตะพะหิทธา ธัมมา, ธรรมทั้งภายในและภายนอกก็มี,
อัชฌัตตา รัมมะณา ธัมมา, ธรรมที่มีสภาวะภาย
                                   ในเป็นอารมณ์  ก็มี,
พะหิทธา รัมมะณา ธัมมา,    ธรรมที่มีสภาวะภาย
                                   นอกเป็นอารมณ์  ก็มี,
อัชฌัตตะพะหิทธา รัมมะณา ธัมมา, ธรรมที่มีสภาวะทั้งภาย
                                         ในและภายนอกเป็นอารมณ์ก็มี,
สะนิทัสสะนะสัปปะฏิฆา     ธัมมา, ธรรมที่เห็นได้
                                   และกระทบได้  ก็มี,
อะนิทัสสะนะสัปปะฏิฆา     ธัมมา, ธรรมที่เห็นไม่
                                            ได้ แต่กระทบได้ก็มี,
อะนิทัสสะนาป    ปะฏิฆา   ธัมมา, ธรรมทั้งที่เห็นไม่
                                               ได้และกระทบไม่ได้ ก็มี.

                        บังสุกุลตาย
อะิจจา วะตะ สังขารา,    สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงหนอ,
อุปปาทะวะยะธัมมิโน,       มีความเกิดขึ้นแล้วมี
                                  เสื่อมไปเป็นธรรมดา,
อุปปัชชิตะวา นิรุชฌันติ  ครั่นเกิดขึ้นแล้ว ย่อมดับไป,
เตสัง  วูปะสะโม สุโข,       ความเข้าไปสงบระงับสังขาร
                                  เป็นความสุขอย่างยิ่ง,

                                   บังสุกุลเป็น
อะจิรังวะตะ ยัง กาโย,       ร่างกายนี้ มิได้ตั้งอยู่นาน,  
                                   ควรที่จะสังเวช, 
ปะฐะวิง,  อะธิเสสสะติ,     จักนอนทับซึ่งแผ่นดิน,
ฉุฑโฑอะเปตะวิญญาโณ,  ครั้นปราศจากวิญญาณ,
                                            อันเขาทิ้งเสียแล้ว,
นิรัตถัง,  วะ กะลิงคะรัง      ประดุจดังว่าท่อนไม้ และ
                                          ท่อนฟืน, หาประโยชน์มิได้.