"..การมาทับมิ่งขวัญนี้ เป็นการเริ่มต้นชีวิตใหม่ ต้องเป็นคนจริง ทำจริง พูดจริง เมื่อทำจริง พูดจริงก็ต้องรู้ของจริง จริงๆ.."
หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ 12 กรกฎาคม 2530
www.wattubmingkwan.com เวบหลัก วัดทับมิ่งขวัญ เวบนี้เป็นเพียง เวบสำรองครับผู้จัดทำ 9 มิถุนายน 2555

คำบูชาพระรัตนตรัย ทำวัตรเย็น


                                   

      คำบูชาพระรัตนตรัย

       (คำบูชาและนะโม ใช้ด้วยกันทั้งทำวัตรเช้า-เย็น)


   อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ ภะคะวา, พระผู้มีพระภาค
                                 เจ้า,  เป็นพระอรหันต์ ดับเพลิง
                               กิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิง, ตรัสรู้ชอบ
                              ได้โดยพระองค์เอง,
   พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ข้าพเจ้าอภิวาทพระ
                                ผู้มีพระภาคเจ้าผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน,        
                                  (กราบ)
   สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโมพระธรรมเป็นธรรมที่
                                   พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว,
   ธัมมัง นะมัสสามิ,  ข้าพเจ้า นมัสการพระธรรม,
                                   (กราบ)         
   สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆ์สาวก
                                 ของพระผู้มีพระภาคเจ้า,ปฏิบัติดีแล้ว,     
   สังฆัง นะมามิ.       ข้าพเจ้า นอบน้อมพระสงฆ์.
                                   (กราบ)

                                                                       
                          ปุพพภาคนมการ (นะโม)
       (หันทะ  มะยัง  พุทธัสสะ  ภะคะวะโต  ปุพพะภา
                            คะนะมะการัง กะโรมะ เส,)

   นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต ขอนอบน้อม แด่พระผู้-
                              มีพระภาคเจ้า  พระองค์นั้น,
   อะระหะโต          ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส,
   สัมมาสัมพุทธัสสะตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง.
                               (ว่า รอบ)

                .ภาค ๑ ทำวัตรเย็น


1.พุทธานุสสติ
(หันทะ มะยัง พุทธานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.)

ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัลลยาโณ กิตติ
สัทโท อัพภุคคะโต,   ก็กิตติศัพท์อันงามของพระ
                                 ผู้มีพระภาคเจ้านั้น, ได้ฟุ้ง
                           ไปแล้วอย่างนี้ว่า,     
อิติปิ  โส  ภะคะวา,   เพราะเหตุอย่างนี้ๆ
                          พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น,
อะระหัง,                    เป็นผู้ไกลจากกิเลส,
สัมมาสัมพุทโธ,         เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดย
                                พระองค์เอง,
วิชชาจะระณะสัมปันโน,  เป็นผู้ถึงพร้อม
                                ด้วยวิชชาและจรณะ,
สุคะโต,                    เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี,
โลกะวิทู,                   เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง,
อะนุตตะโร  ปุริสะทัมมะสาระถิ, เป็นผู้สามารถ
                                 ฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้
                           อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า,
สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เป็นครูผู้สอน ของ
                           เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย,
พุทโธ,                         เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
                           ด้วยธรรม,
ภะคะวา ติ.                เป็นผู้มีความจำเริญ จำแนก 
                                 ธรรม สั่งสอนสัตว์ ดังนี้.


                             2. พุทธาภิคีติ
 (หันทะ  มะยังพุทธาภิคีติง กะโรมะ  เส.)

    พุทธวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต.                   
                        พระพุทธเจ้าประกอบด้วยคุณ มีความ
                      ประเสริฐแห่งอรหันตคุณ  เป็นต้น,
    สุทธาภิ  ญาณะกะรุณาหิสะมาคะตัตโต              
                          มีพระองค์อันประกอบด้วยพระ
                      ญาณ  และพระกรุณาอันบริสุทธิ์,
    โพเธสิ โย  สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร,          
                          พระองค์ใด ทรงกระทำชนที่ดี  ให้
                      เบิกบาน ดุจอาทิตย์ทำบัวให้บาน,
    วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา  ชิเนนทัง
                           ข้าพเจ้าไหว้พระชินสีห์ ผู้ไม่มีกิเลส
                           พระองค์นั้น  ด้วยเศียรเกล้า,
    พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,    
                       พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เป็นสรณะ
                       อันเกษมสูงสุด  ของสัตว์ทั้งหลาย,
    ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ  ตัง  สิเรนะหัง  
                       ข้าพเจ้าไหว้พระพุทธเจ้าพระองค์ 
                           นั้น  อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึก 
                       องค์ที่หนึ่งด้วยเศียรเกล้า,
    พุทธัสสาหัสสมิ ทาโส (ทาสี) วะ พุทโธ เม สามิ
    กิสสะโร,        ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระพุทธเจ้า, พระ
    (หญิงว่า)            พุทธเจ้าเป็นนาย มีอิสระเหนือข้าพเจ้า,

    พุทโธทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม,                   

                       พระพุทธเจ้า เป็นเครื่องกำจัดทุกข์

                       และทรงไว้ซึ่งประโยชน์ แก่ข้าพเจ้า,
พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,  ข้าพเจ้า
                              มอบกายถวายชีวิตนี้ แด่พระพุทธเจ้า,
วันทันโตหัง(ตีหัง) จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง,
(หญิงว่า)               ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักประพฤติตาม
                       ซึ่งความตรัสรู้ดีของพระพุทธเจ้า,
*นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ  เม สะระณัง วะรัง,
                              สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี, พระพุทธ
                            เจ้า เป็นสรณะอันประเสริฐของ
                       ข้าพเจ้า,  (*ถ้าต้องการทำวัตรย่อ)

เอเตนะ  สัจจะวัชเชนะ  วัฑเฒยยัง  สัตถุสาสะเน,

                            ด้วยการกล่าวคำสัจจ์นี้  ข้าพเจ้าพึง

                            เจริญในพระศาสนา ของพระศาสดา,
พุทธัง เม วันทะมาเนนะ(มานายะ) ยังปุญญัง ปะสุตัง
อิธะ,  (หญิงว่า)     ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งพระพุทธเจ้า 
                       ได้ขวนขวายบุญใด ในบัดนี้,                
สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เต ชะสา,
                            อันตรายทั้งปวง อย่าได้มีแก่
                            ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งบุญนั้น,

                       (กราบหมอบลงแล้วว่า)
กาเยนะ  วาจายะ  วะ เจตะสา วา ด้วยกายก็ดี
                            ด้วยวาจาก็ดี  ด้วยใจก็ดี,
พุทเธ  กุกัมมังปะกะตัง มะยายัง กรรมน่า-
                            ติเตียนอันใด  ที่ข้าพเจ้า
                       กระทำแล้ว ในพระพุทธเจ้า,
พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระพุทธเจ้า
                            จงงด ซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น
กาลันตะเร  สังวะริตุง วะพุทเธ.  เพื่อการสำรวม
                       ระวังในพระพุทธเจ้า ในกาลต่อไป.
                                3.ธัมมานุสสติ
   (หันทะ  มายัง  ธัมมานุสสตะนะยัง  กะโรมะ  เส.)

   สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโมพระธรรมเป็นสิ่งที่พระ
                             ผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสไว้ดีแล้ว,
   สันทิฏฐิโก,                 เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ
                                   พึงเห็นได้ด้วยตนเอง,     
   อะกาลิโก,                  เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้  และ
                             ให้ผลได้ ไม่จำกัดกาล,
   เอหิปัสสิโก,               เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกะผู้อื่นว่า  
                                   ท่านจงมาดูเถิด,
   โอปะนะยิโก,              เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว,
   ปัจจัตตัง  เวทิตัพโพ วิญญูหิ ติ,  เป็นสิ่งที่ผู้รู้
                             ก็รู้ได้เฉพาะตนดังนี้.

                         4.ธัมมาภิคีติ
  (หันทะ มะยัง  ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส.)

   สะวากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ  เสยโย,  
                              พระธรรม เป็นสิ่งที่ประเสริฐ เพราะ   
                             ประกอบด้วยคุณ คือความที่ผู้มี
                             พระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว เป็นต้น,
   โย  มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท,
                                   เป็นธรรมอันจำแนกเป็น มรรค
                             ผล ปริยัติ และนิพพาน,
   ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี,
                             เป็นธรรมทรงไว้ซึ่งผู้ทรงธรรม
                             จากการตกไปสู่โลกที่ชั่ว,
วันทามะหัง   ตะมะหะรัง  วะระธัมมะเมตัง    
                 ข้าพเจ้าไหว้พระธรรม อันประเสริฐนั้น 
                 อันเป็นเครื่องขจัดเสียซึ่งความมืด,
ธัมโม  โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,     
                 พระธรรมใด เป็นสรณะอันเกษม 
                     สูงสุด ของสัตว์ทั้งหลาย,
ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง  สิเรนะหัง,
                     ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมนั้น  อันเป็นที่ตั้ง
                     แห่งความระลึก องค์ที่สองด้วยเศียรเกล้า,
ธัมมัสสาหัสสมิ ทาโส(ทาสี)วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร,               
                  ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระธรรม  พระธรรม-
                     เป็นนาย มีอิสระเหนือข้าพเจ้า,  (หญิงว่า)                                                                                        
ธัมโม ทุกขัสสะ  ฆาตา จะ วิธาตา  จะ  หิตัสสะเม,  
                     พระธรรมเป็นเครื่องกำจัดทุกข์  และ
                 ทรงไว้ซึ่งประโยชน์แก่ข้าพเจ้า,
ธัมมัสสาหัง  นิยยาเทมิ  สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,  ข้าพ-
                 เจ้ามอบกายถวายชีวิตนี้ แด่พระธรรม,
วันทันโตหัง  (ตีหังจะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง,     
                  ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักประพฤติตาม ซึ่งความ
                 เป็นธรรมดีของพระธรรม,  (หญิงว่า)
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม  เม สะระณัง วะรัง,          
                     สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระธรรม
                 เป็นสรณะ อันประเสริฐของข้าพเจ้า,

เอเตนะ  สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง  สัตถุสาสะเน,

                 ด้วยการกล่าวคำสัจจ์นี้  ข้าพเจ้าพึง-

                 เจริญในพระศาสนา ของพระศาสดา,
    ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญัง             
    ปะสุตัง อิธะ,       ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งพระธรรม 
    (หญิงว่า)              ได้ขวนขวายบุญใด ในบัดนี้,
    สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา,
                              อันตรายทั้งปวง อย่าได้มีแก่
                                ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งบุญนั้น,

                                (กราบหมอบลงแล้วว่า)
    กาเยนะ วาจายะ  วะ เจตะสา วา,  ด้วยกายก็ดี
                          ด้วยวาจาก็ดี  ด้วยใจก็ดี,
    ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยายังกรรมน่าติเตียนอันใด 
                               ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระธรรม,                                          
    ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตังขอพระธรรม    
                               จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น ,
    กาลันตะเร  สังวะริตุง วะ ธัมเม,  เพื่อการสำรวม
                                ระวัง ในพระธรรม ในกาลต่อไป.

                                5. สังฆานุสสติ
         (หันทะ  มะยัง  สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.)

    สุปะฏิปันโน  ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,                                
                          สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระ
                          ภาคเจ้า หมู่ใด, ปฏิบัติดีแล้ว,
    อุชุปะฏิปันโน  ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,                                 
                          สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระ
                          ภาคเจ้า หมู่ใด, ปฏิบัติตรงแล้ว,
    ญายะปะฏิปันโน  ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,                                             
                          สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาค-
                      เจ้า หมู่ใด, ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรม
                      เป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว,
สามีจิปะฏิปันโน  ภะคะโต  สาวะกะสังโฆ,          
                           สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาค
                           เจ้า หมู่ใดปฏิบัติสมควรแล้ว,
ยะทิทัง,                ได้แก่บุคคลเหล่านี้ คือ,
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา คู่แห่ง
                           บุรุษ 4 คู่, นับเรียงตัวบุรุษ ได้ 8 บุรุษ,  
เอสะ ภะคะวะโต  สาวะกะสังโฆ,  นั่นแหละ สงฆ์
                            สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า,
อาหุเนยโย,           เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา,
ปาหุเนยโย,           เป็นสงฆ์ควรแก่สักกระที่เขาจัดไว้ต้อนรับ,
ทักขิเนยโย,          เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน,
อัญชะลีกะระณีโย, เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี,
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสา ติเป็นเนื้อนาบุญ
                           ของโลก, ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี้,

                           6. สังฆาภิคีติ
         (หันทะ  มะยัง  สังฆาภิคีติง  กะโรมะ  เส.)
สัทธัมมะโช  สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต,  พระสงฆ์
                            ที่เกิดโดยพระสัทธรรม ประกอบ
                          ด้วยคุณมีความปฏิบัติดี เป็นต้น,
โยฏฐัพพิโธ  อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ,           
                           เป็นหมู่แห่งพระอิยบุคคล
                           อันประเสริฐ  แปดจำพวก,
สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต, มีกายและจิต
                           อันอาศัยธรรมมีศีลเป็นต้น อันบวร,
    วันทามะหัง  ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง,
                          ข้าพเจ้าไหว้หมู่แห่งพระอริยเจ้า
                          เหล่าั้น  อันบริสุทิ์ด้วยดี,
     สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,               
                          พระสงฆ์ หมู่ใด, เป็นสรณะอัน-
                                เกษมสูงสุด  ของสัตว์ทั้งหลาย,
     ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง,
                                ข้าพเจ้าไหว้พระสงฆ์หมู่นั้น 
                               อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึก
                          องค์ที่สามด้วยเศียรเกล้า,
     สังฆัสสาหัสมิ ทาโส(ทาสี)วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร,
      (หญิงว่า)           ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระสงฆ์, พระ
                                สงฆ์เป็นนาย มีอิสระเหนือข้าพเจ้า,                             
     สังโฆ  ทุกขัสสะ   ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม,             
                          พระสงฆ์เป็นเครื่องกำจัดทุกข์
                          และทรงไว้ซึ่งประโยชน์แก่ข้าพเจ้า,
     สังฆัสสาหัง   นิยยาเทมิ  สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,                   
                          ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวิตนี้
                                แด่พระสงฆ์,
     วันทันโตหัง(ตีหัง) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง,                                  
      (หญิงว่า)            ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักประพฤติตาม
                               ซึ่งความปฏิบัติดีของพระสงฆ์,
     *นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
    (*ถ้าสวดย่อ)         สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี, พระสงฆ์
                          เป็นสรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า,
     เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง  สัตถุสาสะเน,                
                                ด้วยการกล่าวคำสัจจ์นี้  ข้าพเจ้าพึง
                                เจริญในพระศาสนา ของพระศาสดา,
สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะ
สุตัง อิธะ, (หญิงว่า)     ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งพระสงฆ์
                           ได้ขวนขวายบุญใด ในบัดนี้,
สัพเพปิ  อันตะรายา  เม มาเหสุง  ตัสสะ  เตชะสา,               
                           อันตรายทั้งปวง อย่าได้มีแก่
                                 ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งบุญนั้น,

                        กราบหมอบลงแล้วว่า
กาเยนะ  วาจายะ วะ  เจตะสา วา,  ด้วยกายก็ดี 
                           ด้วยวาจาก็ดี  ด้วยใจก็ดี,
สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยังกรรมน่าติเตียนอันใด
                                   ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระสงฆ์,
สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง ขอพระสงฆ์
                                จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น
กาลันตะเร   สังวะริตุง วะ สังเฆ,   เพื่อการสำรวม                          
                           ระวังในพระสงฆ์ในกาลต่อไป.         

 

                                                    จบทำวัตรเย็น















       (คำบูชาและนะโม ใช้ด้วยกันทั้งทำวัตรเช้า-เย็น)


           (เพราะไม่ได้ฝึกใจเจริญสติเพื่อควบคุมจิต)

  จิตเราเหมือนเงาในน้ำ ถ้าน้ำนิ่งย่อมเห็นเงาตัวเองชัด
  ถ้าน้ำกระเพื้ยมก็ไม่ชัด ถ้าจิตนิ่งจะทำพูดคิดก็ถูกต้อง