"..การมาทับมิ่งขวัญนี้ เป็นการเริ่มต้นชีวิตใหม่ ต้องเป็นคนจริง ทำจริง พูดจริง เมื่อทำจริง พูดจริงก็ต้องรู้ของจริง จริงๆ.."
หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ 12 กรกฎาคม 2530
www.wattubmingkwan.com เวบหลัก วัดทับมิ่งขวัญ เวบนี้เป็นเพียง เวบสำรองครับผู้จัดทำ 9 มิถุนายน 2555

บทพิจารณา


É ภาค บทพิจารณา Ê
                 1.ธาตุปัจจเวกขณ์(ยะถาปัจจะยัง)
      (หันทะ มะยัง ธาตุปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.) 
                          (บทพิจารณาเครื่องนุ่งห่ม)
 
ยะถาปัจจะยัง   ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเม
เวตัง,              สิ่งเหล่านี้นี่เป็นสักว่าธาตุตาม
                         ธรรมชาติเท่านั้น, กำลังเป็นไป
                         ตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนื่องนิจ, 
ยะทิทัง จีวะรัง  ตะทุปะภุญ ชะโก จะ ปุคคะโล,
                    สิ่งเหล่านี้คือจีวร, และคนผู้
                    ใช้สอยจีวรนั้น 
ธาตุมัตตะโก,   เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ,    
นิสสัตโต,           มิได้เป็นสัตวะอันยั่งยืน,  
นิชชีโว,              มิได้เป็นชีวะอันเป็นบุรุษบุคคล,
สุญโญ,              ว่างเปล่าจากความหมายแห่ง
                     ความเป็นตัวตน, 
สัพพานิ ปะนะ  อิมานิ  จีวะรานิ อะชิคุจฉะ
นิยานิ,               ก็จีวรทั้งหมดนี้  ไม่เป็นของ
                    น่าเกลียดมาแต่เดิม,
อิมัง  ปูติกายัง  ปัตตะวา,  ครั้นมาถูกเข้ากับ
                    กายอันเน่าอยู่เป็นนิจนี้แล้ว 
อะติวิยะ ชิคุจฉะนิยานิ ชายันติย่อมกลายเป็น
                    ของน่าเกลียดอย่างยิ่งไปด้วยกัน.

                                 (บทพิจารณาอาหาร)
     ยะถา  ปัจจะยัง  ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะ
     เมเวตัง,          สิ่งเหล่านี้นี่เป็นสักว่าธาตุตาม
                            ธรรมชาติเท่านั้น  กำลังเป็นไป
                        ตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนืองนิจ,
ยะทิทังปิณฑะปาโต ตะทุปะภุญชะโก
จะปุคคะโล,       สิ่งเหล่านี้ คือบิณฑบาต และ
                         คนผู้บริโภคบิณฑบาตนั้น, 
ธาตุมัตตะโก,     เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ,
นิสสัตโต,          มิได้เป็นสัตวะอันยั่งยืน,   
นิชชีโว,               มิได้เป็นชีวะอันเป็นบุรุษบุคคล,
สุญโญ,                ว่างเปล่าจากความหมาย
                                     แห่งความเป็นตัวตน,
สัพโพ ปะนะยัง  ปิณฑะปาโต อะชิคุจ
ฉะนิโย           ก็บิณฑบาตทั้งหมดนี้ ไม่เป็น   
                         ของน่าเกลียดมาแต่เดิม,
อิมัง  ปูติกายัง   ปัตตะวา, ครั้นมาถูกเข้ากับ
                                     กาย  อันเน่าอยู่เป็นนิจนี้แล้ว,
อะติวิยะ ชิคุจฉะนีโย ชายะติ,  ย่อมกลายเป็น
                                     ของน่าเกลียดอย่างยิ่ง ไปด้วยกัน,

                                             (พิจารณาที่อยู่อาศัย)

ยะถาปัจจะยัง    ปะวัตตะมานัง ธาตุมัต
ตะเมเวตัง,         สิ่งเหล่านี้นี่เป็นสักว่าธาตุตาม
                         ธรรมชาติเท่านั้น, กำลังเป็นไป
                     ตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนืองนิจ,
ยะทิทัง  เสนาสะนัง ตะทุปะภุญชะโก จะ
ปุคคะโล,         สิ่งเหล่านี้ คือเสนาสนะ, และ
                     คนผู้ใช้สอยเสนาสนะนั้น, 
ธาตุมัตตะโก,     เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ, 
นิสสัตโต,           มิได้เป็นสัตวะอันยั่งยืน,
     นิชชีโว,              มิได้เป็นชีวะอันเป็นบุรุษบุคคล,
     สุญโญ,              ว่างเปล่าจากความหมาย  
                         แห่งความเป็นตัวตน,
     สัพพานิ  ปะนะ   อิมานิ เสนาสะนานิ อะชิ
     คุจ ฉะนิยานิ,    ก็เสนาสนะทั้งหมดนี้  ไม่เป็น
                         ของน่าเกลียดมาแต่เดิม,
อิมัง  ปูติกายัง   ปัตตะวาครั้นมาถูกเข้ากับ
                         กายอันเน่าอยู่เป็นนิจนี้แล้ว,
อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติย่อมกลายเป็น
                            ของน่าเกลียดอย่างยิ่งไปด้วยกัน.
                       
                                (พิจารณายารักษาโรค)
     ยะถาปัจจะยัง    ปะวัตตะมานัง  ธาตุมัต
     ตะเมเวตัง,       สิ่งเหล่านี้ นี่เป็นสักว่าธาตุตาม
                         ธรรมชาติเท่านั้น, กำลังเป็นไป
                         ตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนืองนิจ,
     ยะทิทัง  คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร
     ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, สิ่งเหล่านี้ คือ
                          เภสัชบริขาร อันเกื้อกูลแก่คนไข้,
                         และคนผู้บริโภคเภสัชบริขาร,
ธาตุมัตตะโก,     เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ,
นิสสัตโต,           มิได้เป็นสัตวะอันยั่งยืน,
นิชชีโว,               มิได้เป็นชีวะอันเป็นบุรุษบุคคล, 
สุญโญ,                ว่างเปล่าจากความหมาย
                     แห่งความเป็นตัวตน,
สัพโพ ปะนายัง  คิลานะปัจจะยะ เภสัชชะปะริก
ขาโร อะชิคุจฉะนีโยก็คิลานเภสัชบริขารทั้งหมดนี้
                           ไม่เป็นของน่าเกลียดมาแต่เดิม,
อิมัง   ปูติกายัง   ปัตตะวา,  ครั้นมาถูกเข้ากับ
                     กายอันเน่าอยู่เป็นนิจนี้แล้ว,
อะติวิยะ  ชิคุจฉะนีโย  ชายันติ,  ย่อมกลายเป็น
                         ของน่าเกลียดอย่างยิ่งไปด้วยกัน,
Éตังขณิกปัจจเวกขณ์(ปฏิสังขาโย)Ê
(หันทะ มะยัง ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส)

                   (บทพิจารณาเครื่องนุ่งห่ม)
ปะฏิสังขา โยนิโส จีวะรัง ปฏิเสวามิเราย่อมพิจารณา 
                            โดยแยบคาย แล้วนุ่งห่มจีวร,
ยาวะเทวะ สีตัสสะปฏิฆาตายะ,เพียงเพื่อบำบัด
                            ความหนาว, 
อุณหัสสะ  ปะฏิฆาตายะ, เพื่อบำบัดความร้อน, 
ทังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสา
นัง  ปะฏิฆาตายะ,       เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิดจาก
                                    เหลือบ ยุง ลม แดด และ
                                    สัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย,
ยาวะเทวะ หิริโกปินะปะฏิจฉาทะนัตถัง, 
                                  และเพียงเพื่อปกปิดอวัยวะ
                            อันให้เกิดความละอาย.

                             (บทพิจารณาอาหาร)
     ปะฏิสังขา โยนิโส  ปิณฑะปาตัง ปะฏิเสวามิ, 
                                 เราย่อมพิจารณาโดย
                           แยบคาย แล้วฉันบิณฑบาต,
      เนวะทะวายะ,          ไม่ให้เป็นไปเพื่อความ
                                           เพลิดเพลินสนุกสนาน, 
 นะมะทายะ,                ไม่ให้เป็นเพื่อความเมามัน
                           เกิดกำลังพลังทางกาย,                              
นะมัณฑะนายะ.        ไม่ให้เป็นไปเพื่อประดับ,
นะ  วิภูสะนายะ,        ไม่ให้เป็นไปเพื่อตกแต่ง, 
ยาวะเทวะ  อิมัสสะ  กายัสสะ ฐิติยาแต่ให้เป็นไปเพียง
                                                                  เพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งกายนี้,
ยาปะนายะ,            เพื่อความเป็นไปได้ของอัตภาพ,
วิหิงสุปะระติยา,     เพื่อความสิ้นไปแห่งความ
                          ลำบากทางกาย,
พรัหมะจะริยานุคคะหายะ,  เพื่ออนุเคราะห์แก่
                         การประพฤติพรหมจรรย์, 
อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิด้วยการทำ
                        อย่างนี้, เราย่อมระงับเสียได้
                        ซึ่งทุกขเวทนาเก่า คือความหิว,
นะวัญจะ  เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, และไม่ทำ 
                                        ทุกขเวทนาใหม่ให้เกิดขึ้น, 
ยาตะรา  จะ เม ภะวิสสะติ  อะนะวัชชะตา จะ
ผาสุวิหาโร จาติ,     อนึ่ง ความเป็นไปโดยสะดวกแห่ง
                         อัตตภาพนี้ด้วย  ความเป็นผู้หา
                         โทษมิได้ด้วยและความเป็นอยู่
                                   โดยผาสุกด้วยจักมีแก่เรา ดังนี้.

                                  (บทพิจารณาที่อยู่อาศัย)
ปะฏิสังขา โยนิโส   เสนาสะนัง  ปะฏิเสวามิ,
                             เราย่อมพิจารณาโดยแยบ
                        คาย แล้วใช้สอยเสนาสนะ,   
ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, เพียงเพื่อ
                        บำบัด ความหนาว, 
อุณหัสสะ  ปะฏิฆาตายะ,  เพื่อบำบัดความร้อน,
ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง
ปะฏิฆาตายะ,         เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิดจาก
                        เหลือบ ยุง ลม เเดด และ
                        สัตว์เลื้อยคลาน ทั้งหลาย 
ยาวะเทวะ   อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัล
   ลานารามัตถัง,      เพียงเพื่อบรรเทาอันตราย
                        อันจะพึงมีจากดินฟ้าอากาศ,
                        และเพื่อความเป็นผู้ยินดีอยู่
                          ได้ ในหลีกเร้นสำหรับภาวนา.

                     (บทพิจารณายารักษาโรค)
ปะฏิสังขา  โยนิโส คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริก
ขารัง  ปฏิเสวามิ,  เราย่อมพิจารณาโดยแยบคาย
                        แล้วบริโภคเภสัชบริขาร  อัน
                          เกื้อกูลแก่คนไข้,    
ยาวะเทวะ  อุปปันนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนา
นัง   ปะฏิฆาตายะ เพียงเพื่อบำบัดทุกขเวทนา อันบัง
                               เกิดขึ้นแล้ว มีอาพาธต่างๆเป็นมูล,
อัพยาปัชฌะ  ปะระมะตายาติเพื่อความเป็นผู้ไม่มี
                        โรคเบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง ดังนี้.
                     
      (พิจารณาอาหารแบบไทยๆ สำหรับนักเรียน)
     ข้าวทุกจาน อาหารทุกอย่างอย่ากินทิ้งขว้าง เพราะ
     เป็นของมีค่า  หลายคนเหนื่อยยากลำบากหนักหนา
     สงสารบรรดาผู้ไม่มีกิน  ขอบคุณ ขอบคุณ ขอบคุณ
     ขอบคุณแม่ครัว ขอบคุณทุกท่านที่กรุณานำอาหาร
     มาให้  พวกเราทราบซึ่งตรึงใจ  ตั้งแต่นี้ไป จะตั้งใจ
     ทำความดีตอบแทน  ขอบคุณครับ ขอบคุณคะ
                                     «[ «






                  
                      É(.ปัญจอภิณหปัจจเวกขณ์)Ê
     (หันทะ มะยัง ปัญจอภิณหปัจจเวกขณะ ปาฐัง ภะณามะ เส)

ชะราธัมโมมหิ ชะรัง อะนะตีโต (ตา),
                                   เรามีความแก่เป็นธรรมดา,
           จะล่วงพ้นความแก่ไปไม่ได้,
พะยาธิธัมโมมหิ  พะยาธิง  อะนะตีโต(ตา), 
                           เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา,
                           จะล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปไม่ได้,
มะระณะ  ธัมโมมหิ   มะระณัง  อะนะตีโต (ตา),              
                           เรามีความตายเป็นธรรมดา,
                           จะล่วงพ้นความตายไปไม่ได้,
สัพเพหิ   เม   ปิเยหิ  มะนาเปหิ นานาภาโว
วินาภาโว             เราจักพลัดพรากจากของรัก  
                           ของชอบใจทั้งหลาย,
กัมมัสสะโกมหิ,         เรามีกรรมเป็นของๆ ตน,
กัมมะทายาโท,          เราจักต้องเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น,
กัมมะโยนิ,             เรามีกรรมเป็นแดนเกิด,
กัมมะพันธุ,                เรามีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์,
กัมมะปะฏิสะระโณ,  เรามีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย,
ยังกัมมัง กะริสสามิ, เราทำกรรมอันใดไว้,
กัละยาณัง  วา  ปาปะกัง วาเป็นกรรมดีก็ตาม
                           เป็นกรรมชั่วก็ตาม,
ตัสสะ ทายาโท ภะวิสสามิ, เราจักต้องเป็น
                          ผู้รับผลแห่งกรรมนั้น,
เอวัง อัมเหหิ อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพังเราทั้งหลาย
                                พึงพิจารณาเนืองๆ อย่างนี้แล..

                                 '«JJK['
      ธรรมที่บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ10 อย่าง

1.        บรรพชิตควรพิจารณาเนืองว่า บัดนี้เรามี
        เพศต่างจากคฤหัสถ์แล้ว อาการกิริยาใดๆ
        ของสมณะ  เราต้องทำอาการกิริยานั้นๆ,
2.    บรรพชิตควรพิจารณาเนืองว่า ความเลี้ยง
         ชีวิตของเรา เนื่องด้วยผู้อื่น เราควรทำตัว
        ให้เขาเลี้ยงง่าย,
3.    บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า  อาการ 
        กายวาจาอย่างอื่น  ที่เราจักต้องทำให้ดี
        ขึ้นไปกว่านี้ ยังมีอยู่อีก ไม่ใช่เพียงเท่านี้,
4.       บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆว่า ตัวของเรา 
        เอง  ติเตียนตัวเราเองโดยศีล ได้หรือไม่,
5.    บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า  ผู้รู้ใคร่ 
        ครวญแล้ว  ติเตียนเราโดยศีล ได้หรือไม่,
    6.  บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆว่า เราจะต้อง    
           พลัดพรากจากของรัก ของชอบใจทั้งนั้น,
7.     บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆว่า เรามีกรรม
        เป็นของตัว เราทำดีจักได้ดี ทำชั่วจักได้ชั่ว,
8.    บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า วันคืน
        ล่วงไปๆบัดนี้เราทำอะไรอยู่,
   9.  บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เรายินดี
           ในที่สงัด หรือไม่,
10. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า  คุณวิ-
        เศษของเรามีอยู่หรือไม่  ที่จะให้เราเป็น
        ผู้ไม่เก้อเขิน ในเวลาเพื่อนพรรพชิตถาม
        ในกาลภายหลัง.

                                    'JJK['
บทพิจารณาสังขาร.

สัพเพ  สังขารา  อะนิจจาสังขารคือร่างกายจิตใจ,                             
           แลรูปธรรมนามธรรม ทั้งหมดทั้งสิ้น, มันไม่ 
         เที่ยง, เกิดขึ้นแล้วดับไป  มีแล้วหายไป,
สัพเพ  สังขารา ทุกขา,  สังขารคือร่างกายจิตใจ, แล                 

         รูปธรรม นามธรรม ทั้งหมดทั้งสิ้น, มันเป็นทุกข์       

         ทนยาก, เพราะเกิดขึ้นแล้ว, แก่ เจ็บ ตาย ไป,

สัพเพ  ธัมมา อะนัตตาสิ่งทั้งหลายทั้งปวง, ทั้งที่
           เป็นสังขาร  แลมิใช่สังขาร ทั้งหมดทั้งสิ้น,
         ไม่ใช่ตัว ไม่ใช่ตน, ไม่ควรถือว่าเรา ว่า
         ของเรา ว่าตัวว่าตนของเรา,
อะธุวัง ชีวิตัง             ชีวิตเป็นของไม่ยั่งยืน,
ธุวัง  มะระณัง,            ความตายเป็นของยั่งยืน,
อะวัสสัง มะยา มะริตัพพัง, อันเราจะพึงตายเป็นแท้,
มะระณะปะริโยสานัง เม ชีวิตังชีวิตของเรา มี 
                            ความตาย เป็นที่สุดรอบ,
ชีวิตัง เม อะนิยะตัง  ชีวิตของเรา  เป็นของไม่เที่ยง,
มะระณัง เม นิยะตัง,   ความตายของเรา เป็นของเที่ยง, 
วะตะ,                           ควรที่จะสังเวช, 
อะยัง  กาโย,                 ร่างกายนี้ ,
อะจิรัง,                          มิได้ตั้งอยู่นาน,  
อะเปตะวิญญาโณ,       ครั้นปราศจากวิญญาณ,
ฉุฑโฑ,                          อันเขาทิ้งเสียแล้ว,   
อะธิเสสสะติ,               จักนอนทับ,
ปะฐะวิง,                       ซึ่งแผ่นดิน,
       กะลิงคะรัง อิวะ,           ประดุจว่าท่อนไม้และท่อนฟืน,
       นิรัตถัง,                         หาประโยชน์มิได้.   
                                              'JJK['   
           กรวดน้ำตอนเย็น
   (หันทะ มะยัง อุททิสสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส.)

 อิมินา  ปุญญะกัมเมนะ     ด้วยบุญนี้ อุทิศให้,
 อุปัชฌายา  คุณุตตะรา,      อุปัชฌาย์  ผู้เลิศคุณ,
 อาจะริยูปะการา จะ        แลอาจารย์ ผู้เกื้อหนุน,
 มาตา ปิตา จะ ญาตะกา,    ทั้งพ่อแม่ แลปวงญาติ,
 สุริโย  จันทิมา  ราชา,          สูรย์จันทร์  แลราชา,
 คุณะวันตา นะราปิ จะ,        ผู้ทรงคุณ หรือสูงชาติ,
 พรัหมะมารา  จะ อินทา จะ, พรหม มารและอินทราช,
 โลกะปาลา จะ เทวะตา,     ทั้งทวยเทพและโลกบาล,
 ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ,  ยมราช  มนุษย์มิตร,
 มัชฌัตตา  เวริกาปิ   จะ,    ผู้เป็นกลาง ผู้จ้องผลาญ,
 สัพเพ สัตตา สุขี  โหนตุ,    ขอให้จงเป็นสุขศานติ์
                                   ทุกทั่วหน้าอย่าทุกข์ทน,
 ปุญญานิ ปะกะตานิ เม    บุญผองที่ข้าทำ จงช่วย
                                    อำนวยศุภผล,
 สุขัง  จะ ติวิธัง  เทนตุ,        ให้สุขสามอย่างล้น,
 ขิปปัง ปาเปถะ โวมะตัง,     ให้ลุถึงนิพพานพลัน,
 อิมินา  ปุญญะกัมเมนะ,      ด้วยบุญที่เราทำ,
 อิมินา  อุททิเสนะ  จะ,        แลอุทิศให้ปวงสัตว์,
 ขิปปาหัง  สุละเภ  เจวะ    เราพลันได้ซึ่งการตัด,
 ตัณหุปาทานะเฉทะนัง,      ตัวตัณหาอุปาทาน,
 เย สันตาเน หินา ธัมมา,     สิ่งชั่วในดวงใจ,
 ยาวะ นิพพานะโต มะมัง,   กว่าเราจะถึงนิพพาน,
 นัสสันตุ  สัพพะทา เยวะ   มลายสิ้นจากสันดาน,
 ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว,     ทุกๆ ภพที่เราเกิด,
   อุชุจิตตัง  สะติปัญญา,        มีจิตตรงและสติทั้ง
                                    ปัญญาอันประเสริฐ,
สัลเลโข  วิริยัมหินา           พร้อมทั้งความเพียรเลิศ            
                                    เป็นเครื่องขูดกิเลสหาย,
 มารา ละภันตุ โนกาสัง,      โอกาส อย่าพึงมีแก่                  
                                   หมู่มารสิ้นทั้งหลาย,
 กาตุญจะ  วิริเยสุ  เม        เป็นช่องประทุษร้าย   
                                   ทำลายล้างความเพียรจม,
 พุทธาทิปะวะโร  นาโถ,       พระพุทธ ผู้บวรนาถ
 ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม    พระธรรมที่พึ่งอุดม,                                                    
 นาโถ ปัจเจกะพุทโธ  จะ   พระปัจเจกะพุทธสม,
 สังโฆ  นาโถตตะโร  มะมังทบพระสงฆ์ที่พึ่งผยอง,
 เตโสตตะมา  นุภาเวนะ    ด้วยอานุภาพนั้น,
 มาโรกาสัง  ละภันตุ  มา    ขอหมู่มารอย่าได้ช่อง,
 ทะสะปุญญานุภาเวนะ,       ด้วยเดชบุญทั้งสิบป้อง,
 มาโรกาสัง ละภันตุ  มา,     อย่าเปิดโอกาสแก่มารเทอญ,


                     กรวดน้ำตอนเช้า
(หันทะ มะยัง สัพพะปัตติทานะคาถาโย ภะณา มะเส.)

ปุญญัสสิทานิ   กะตัสสะ ยานัญญานิ  กะตานิ  เม,
เตสัญจะ ภาคิโน โหนตุ   สัตตานันตาปปะมาณะกา,
     สัตว์ทั้งหลายไม่มีที่สุดไม่มีประมาณ,จงมีส่วนแห่งบุญที่
    ข้าพเจ้าได้ทำในบัดนี้, และแห่งบุญอื่นที่ได้ทำไว้ก่อนแล้ว,
เย ปิยา  คุณะวันตา  จะ  มัยหัง มาตาปิตาทะโย,
ทิฏฐา เม จาปยะทิฏฐา วา อัญเญ มัชฌัตตะเวริโน,
     คือจะเป็นสัตว์เหล่าใด, ซึ่งเป็นที่รักใคร่และมีบุญคุณ
          เช่นมารดาบิดาของข้าพเจ้าเป็นต้น ก็ดี, ที่ข้าพเจ้า
          เห็นแล้ว  หรือไม่ได้เห็น ก็ดี,   สัตว์เหล่าอื่นที่เป็น
       กลางๆ หรือเป็นคู่เวรกัน ก็ดี,
สัตตา ติฏฐันติ โลกัสสะมิง เต ภุมมา จะตุโยนิกา, 
ปัญเจกะจะตุโวการา  สังสะรันตา  ภาวาภะเว,
      สัตว์ทั้งหลาย ตั้งอยู่ในโลก, อยู่ในภูมิทั้งสาม, อยู่ใน
    กำเนิดทั้งสี่,  มีขันธ์ห้าขันธ์ มีขันธ์ขันธ์เดียว มีขันธ์
    สี่ขันธ์,  กำลังท่องเที่ยวอยู่ในภพน้อยภพใหญ่ ก็ดี,
ญาตัง  เย  ปัตติทานัมเม  อะนุโมทันตุ เต สะยัง,
เย  จิมัง  นัปปะชานันติ  เทวา  เตสัง  นิเวทะยุง,
      สัตว์เหล่าใด รู้ส่วนบุญที่ข้าพเจ้าแผ่ให้แล้ว, สัตว์เหล่า
    นั้นจงอนุโมนาเองเถิด, ส่วนสัตว์เหล่าใด ยังไม่รู้ส่วน
    บุญนี้,  ขอเทวดาทั้งหลาย จงบอกสัตว์เหล่านั้น ให้รู้,
มะยา ทินนานะ ปุญญานัง    อะนุโมทะนะเหตุนา,
สัพเพ สัตตา  สะทา  โหนตุ   อะเวรา   สุขะชีวิโน,
เขมัปปะทัญจะ  ปัปโปนตุ  เตสาสา สิชฌะตัง สุภา,
     เพราะเหตุที่ได้อนุโมทนาส่วนบุญที่ข้าพเจ้าแผ่ให้แล้ว,
    สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง,  จงเป็นผู้ไม่มีเวร อยู่เป็นสุขทุก
    เมื่อ, จงถึงบทอันเกษม กล่าวคือพระนิพพาน,  ความ
    ปรารถนาที่ดีงามของสัตว์เหล่านั้น  จงสำเร็จเถิด,
                     
                                       «[ «
           







                                                                                                                                      
             ต้นไม้มีคุณเพราะกางกั้นกันแดดฝน 
             ธรรมมีผลเพราะประพฤติจึงสุขสันต์
             เพียงความรู้อย่างเดียวไม่ครบครัน
             รู้เท่าทันเพราะปฏิบัติตัดมืดมน......

                  3.อตีตปัจจเวกขณ์ (อัชชะ มะยา)
   (หันทะ มะยัง อตีตปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส)
                        (บทพิจารณาเครื่องนุ่งห่ม)

อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตะวา 
ยัง  จีวะรัง ปริภุตตัง,    จีวรใดอันนุ่งห่มแล้วไม่
                              ท้นพิจารณาในวันนี้,
ตังยาวะเทวะ  สีตัสสะ  ปฏิฆาตายะ,  จีวรนั้น
                                    เรานุ่งห่มแล้ว เพียง
                              เพื่อบำบัดความหนาว,
อุณหัสสะ ปะฏิฆาตา ยะ, เพื่อบำบัดความร้อน, 
ทังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะ  สัมผัส
สานัง  ปะฏิฆาตายะ,    เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิด
                                         จากเหลือบ ยุง ลม แดด และ
                                 สัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย,
ยาวะเทวะ  หิริโกปินะ  ปะฏิจฉาทะนัตถัง,
                                      และเพียงเพื่อปกปิดอวัยวะ
                              อันให้เกิดความละอาย.

                          (บทพิจารณาอาหาร)

อัชชะ  มะยา  อะปัจจะเวกขิตะวา โย ปิณฑะ
ปาโต ปะริภุตโต,        บิณฑบาตรใดอันเราฉันแล้ว
                                      ไม่ทันพิจารณาในวันนี้  
โส เนวะ  ทะวายะ,      ไม่ให้เป็นไปเพื่อความ 
                              เพลิดเพลินสนุกสนาน, 
นะมะทายะ,                  ไม่ใช่เป็นไปเพื่อความเมา
                             มัน เกิดกำลังพลังทางกาย,                              
นะ  มัณฑะนายะ,         ไม่ใช่เป็นไปเพื่อประดับ,
นะ วิภูสะนายะ,           ไม่ใช่เป็นไปเพื่อตกแต่ง, 
ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยาแต่ให้เป็นไปเพียง
                            เพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งกายนี้,
ยาปะนายะ,             เพื่อความเป็นไปได้ของอัตภาพ,
วิหิงสุปะระติยา,          เพื่อความสิ้นไปแห่งความ
                            ลำบากทางกาย,
พรัหมะจะริยานุคคะหายะ,   เพื่ออนุเคราะห์แก่ 
                            การประพฤติพรหมจรรย์, 
อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิ,  ด้วยการทำ
                            อย่างนี้  เราย่อมระงับเสียได้ 
                            ซึ่งทุกขเวทนาเก่าคือ ความหิว,
นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, และไม่ทำ
                            ทุกขเวทนาใหม่ให้เกิดขึ้น, 
ยาตะรา  จะ เม ภะวิสสะติ  อะนะวัชชะตา
จะ ผาสุวิหาโร จาติ  อนึ่งความเป็นไปโดยสะดวกแห่ง
                            อัตตภาพนี้ด้วยความเป็นผู้หา
                            โทษมิได้ด้วย,  และความเป็นอยู่
                                   โดยผาสุกด้วยจักมีแก่เราดังนี้.

                         (บทพิจารณาที่อยู่อาศัย)
อัชชะ มะยา อะปัจจะเวก ขิตตะวา ยังเสนา
สะนัง ปริภุตตัง.        เราย่อมพิจารณา โดยแยบ
                                     คาย แล้วใช้สอยเสนาสนะ,   
ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ เพียงเพื่อ
                            บำบัดความหนาว, 
อุณหัสสะ  ปะฏิฆาตายะ, เพื่อบำบัดความร้อน,
ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัส
    สานัง ปะฏิฆาตายะ, เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิด
                             จากเหลือบยุง ลม แดดและ
                                      สัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย 
ยาวะเทวะ   อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิ
สัลลานารามัตถัง,     เพียงเพื่อบรรเทาอันตราย
                           อันจะพึงมีจากดินฟ้าอากาศ,
                            และเพื่อความเป็นผู้ยินดีอยู่ได้
                           ในหลีกเร้นสำหรับภาวนา.
                       
                     (บทพิจารณายารักษาโรค)
อัชชะ มะยา อะปัจจะเวก ขิตตะวา โยคิลานะปัจจะยะ เภสัชชะ ปะริกขาโร ปริภุตโต,  เราย่อมพิจารณา
                                โดยแยบคายแล้วบริโภคเภสัช
                           บริขารอันเกื้อกูลแก่คนไข้,    
โสยาวะเทวะ  อุปปันนานัง  เวยยาพาธิกานัง เวทะ
นานัง ปะฏิฆาตายะ, เพียงเพื่อบำบัดทุกขเวทนาอันบัง
                                เกิดแล้ว มีอาพาธต่างๆเป็นมูล,
อัพพยา ปัชฌะปะระมะตายาติเพื่อความเป็นผู้ไม่มี
                           โรคเบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง ดังนี้.
                                          «  Y «  











                 1.ธาตุปัจจเวกขณ์(ยะถาปัจจะยัง)
 (หันทะ มะยัง ธาตุปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.) 
                          (บทพิจารณาเครื่องนุ่งห่ม)
 
ยะถาปัจจะยัง   ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเม
เวตัง,              สิ่งเหล่านี้นี่เป็นสักว่าธาตุตาม
                         ธรรมชาติเท่านั้น  กำลังเป็นไป
                         ตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนื่องนิจ, 
ยะทิทัง จีวะรัง ตะทุปะภุญ ชะโก จะ ปุคคะโล,
                   สิ่งเหล่านี้คือ จีวรและคนผู้
                   ใช้สอยจีวรนั้น, 
ธาตุมัตตะโก,  เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ,       
นิสสัตโต,           มิได้เป็นสัตวะอันยั่งยืน,  
นิชชีโว,              มิได้เป็นชีวะอันเป็นบุรุษบุคคล,
สุญโญ,            ว่างเปล่าจากความหมายแห่ง
                   ความเป็นตัวตน, 
สัพพานิ ปะนะ อิมานิ  จีวะรานิ อะชิคุจฉะ
นิยานิ,              ก็จีวรทั้งหมดนี้  ไม่เป็นของ
                   น่าเกลียดมาแต่เดิม,
อิมัง ปูติกายัง  ปัตตะวา,  ครั้นมาถูกเข้ากับ
                   กายอันเน่าอยู่เป็นนิจนี้แล้ว 
อะติวิยะ ชิคุจฉะนิยานิ ชายันติย่อมกลายเป็น
                   ของน่าเกลียดอย่างยิ่งไปด้วยกัน.



                             (บทพิจารณาอาหาร)
   
     ยะถา  ปัจจะยัง  ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะ
     เมเวตัง,           สิ่งเหล่านี้นี่เป็นสักว่าธาตุตาม
                         ธรรมชาติเท่านั้น  กำลังเป็นไป
                     ตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนืองนิจ,
ยะทิทังปิณฑะปาโต ตะทุปะภุญชะโก
จะปุคคะโล,      สิ่งเหล่านี้ คือบิณฑบาต และ
                        คนผู้บริโภคบิณฑบาตนั้น, 
ธาตุมัตตะโก,    เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ,
นิสสัตโต,          มิได้เป็นสัตวะอันยั่งยืน,  
นิชชีโว,              มิได้เป็นชีวะอันเป็นบุรุษบุคคล,
สุญโญ,               ว่างเปล่าจากความหมาย
                                    แห่งความเป็นตัวตน,
สัพโพ ปะนะยัง  ปิณฑะปาโต
อะชิคุจฉะนิโย ก็บิณฑบาตทั้งหมดนี้ไม่เป็น   
                         ของน่าเกลียดมาแต่เดิม,
อิมัง  ปูติกายัง   ปัตตะวา, ครั้นมาถูกเข้ากับ
                                     กายอันเน่าอยู่เป็นนิจนี้แล้ว,
อะติวิยะ ชิคุจฉะนีโย ชายะติ,  ย่อมกลายเป็น
                                     ของน่าเกลียดอย่างยิ่ง ไปด้วยกัน,

                                             (พิจารณาที่อยู่อาศัย)

ยะถาปัจจะยัง    ปะวัตตะมานัง ธาตุมัต
ตะเมเวตัง,         สิ่งเหล่านี้ นี่เป็นสักว่าธาตุตาม
                         ธรรมชาติเท่านั้น, กำลังเป็นไป
                     ตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนืองนิจ,
ยะทิทัง  เสนาสะนัง ตะทุปะภุญชะโก จะ
ปุคคะโล,         สิ่งเหล่านี้คือเสนาสนะ และ
                     คนผู้ใช้สอยเสนาสนะนั้น, 
ธาตุมัตตะโก,     เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ, 
นิสสัตโต,           มิได้เป็นสัตวะอันยั่งยืน,
     นิชชีโว,              มิได้เป็นชีวะอันเป็นบุรุษบุคคล,
     สุญโญ,              ว่างเปล่าจากความหมาย  
                         แห่งความเป็นตัวตน,
     สัพพานิ  ปะนะ  อิมานิ เสนาสะนานิ อะชิ
     คุจ ฉะนิยานิ,    ก็เสนาสนะทั้งหมดนี้ ไม่เป็น
                         ของน่าเกลียดมาแต่เดิม,
     อิมัง  ปูติกายัง   ปัตตะวาครั้นมาถูกเข้ากับ
                              กายอันเน่าอยู่เป็นนิจนี้แล้ว,
     อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติย่อมกลายเป็น
                         ของน่าเกลียดอย่างยิ่งไปด้วยกัน.
                       
                              (พิจารณายารักษาโรค)

     ยะถาปัจจะยัง    ปะวัตตะมานัง  ธาตุมัต
     ตะเมเวตัง,       สิ่งเหล่านี้ นี่เป็นสักว่าธาตุตาม
                         ธรรมชาติเท่านั้น  กำลังเป็นไป
                         ตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนืองนิจ,
     ยะทิทัง  คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร
     ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, สิ่งเหล่านี้ คือ
                          เภสัชบริขาร อันเกื้อกูลแก่คนไข้
                         และคนผู้บริโภคเภสัชบริขาร,
      ธาตุมัตตะโก,     เป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ,
  
นิสสัตโต,                  มิได้เป็นสัตวะอันยั่งยืน,
นิชชีโว,                        มิได้เป็นชีวะอันเป็นบุรุษบุคคล, 
สุญโญ,                         ว่างเปล่าจากความหมาย
                            แห่งความเป็นตัวตน,
สัพโพปะนายัง  คิลานะปัจจะยะ เภสัชชะปะริก
ขาโร อะชิคุจฉะนีโย,   ก็คิลานเภสัชบริขารทั้งหมดนี้
                                    ไม่เป็นของน่าเกลียดมาแต่เดิม,
อิมัง ปูติกายัง ปัตตะวา,  ครั้นมาถูกเข้ากับกาย
                            อันเน่าอยู่เป็นนิจนี้แล้ว,
อะติวิยะ  ชิคุจฉะนีโย  ชายันติ,  ย่อมกลายเป็นของ
                                 น่าเกลียดอย่างยิ่งไปด้วยกัน,

É ตังขณิกปัจจเวกขณ์(ปฏิสังขาโย)Ê
(หันทะ มะยัง  ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะปาฐังภะณามะ เส)
                   (บทพิจารณาเครื่องนุ่งห่ม)
ปะฏิสังขา โยนิโส จีวะรัง ปฏิเสวามิ,  เราย่อมพิจารณา  
                                  โดยแยบคายแล้วนุ่งห่มจีวร,
ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะเพียงเพื่อบำบัด
                             ความหนาว, 
อุณหัสสะ ปะฏิฆาตา  ยะ, เพื่อบำบัดความร้อน, 
ทังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัส
สานัง  ปะฏิฆาตายะ,  เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิดจาก
                                    เหลือบ  ยุง ลม  แดด และ
                                    สัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย,
ยาวะเทวะ หิริโกปินะ ปะฏิจฉาทะนัตถัง, 
                                  และเพียงเพื่อปกปิดอวัยวะ
                            อันให้เกิดความละอาย.
                             (บทพิจารณาอาหาร)
     ปะฏิสังขา  โยนิโส   ปิณฑะปาตัง ปะฏิเสวามิ, 
                                   เราย่อมพิจารณาโดย
                             แยบคายแล้วฉันบิณฑบาต,
     เนวะ  ทะวายะ,     ไม่ให้เป็นไปเพื่อความ
                             เพลิดเพลินสนุกสนาน, 
     นะมะทายะ,             ไม่ให้เป็นเพื่อความเมามัน
                        เกิดกำลังพลังทางกาย,                              
นะ  มัณฑะนายะ,   ไม่ให้เป็นไปเพื่อประดับ,
นะ  วิภูสะนายะ,     ไม่ให้เป็นไปเพื่อตกแต่ง, 
ยาวะเทวะ  อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยาแต่ให้เป็นไปเพียง
                              เพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งกายนี้,
ยาปะนายะ,            เพื่อความเป็นไปได้ของอัตภาพ,
วิหิงสุปะระติยา,     เพื่อความสิ้นไปแห่งความ
                          ลำบากทางกาย,
พรัหมะจะริยานุคคะหายะ,  เพื่ออนุเคราะห์แก่
                                การประพฤติพรหมจรรย์, 
อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิด้วยการทำ
                        อย่างนี้ เราย่อมระงับเสียได้
                        ซึ่งทุกขเวทนาเก่าคือ ความหิว,
นะวัญจะ  เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, และไม่ทำ 
                                        ทุกขเวทนาใหม่ให้เกิดขึ้น, 
ยาตะรา  จะ เม ภะวิสสะติ  อะนะวัชชะตา จะ
ผาสุวิหาโร จาติ   อนึ่งความเป็นไปโดยสะดวกแห่ง
                                  อัตตภาพนี้ด้วยความเป็นผู้หา
                                           โทษมิได้ด้วยและความเป็นอยู่
                                  โดยผาสุกด้วยจักมีแก่เราดังนี้.
                                  (บทพิจารณาที่อยู่อาศัย)
ปะฏิสังขา โยนิโส     เสนาสะนัง  ปะฏิเสวามิ,
                               เราย่อมพิจารณาโดยแยบ
                          คายแล้วใช้สอยเสนาสนะ,   
ยาวะเทวะ  สีตัสสะ  ปะฏิฆาตายะ, เพียงเพื่อ
                          บำบัด ความหนาว, 
อุณหัสสะ  ปะฏิฆาตายะ,  เพื่อบำบัดความร้อน,
ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง
ปะฏิฆาตายะ,           เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิดจาก
                           เหลือบ ยุง ลม เเดด และ
                          สัตว์เลื้อยคลาน ทั้งหลาย 
ยาวะเทวะ   อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัล
ลานารามัตถัง,        เพียงเพื่อบรรเทาอันตราย
                          อันจะพึงมีจากดินฟ้าอากาศ,
                          และเพื่อความเป็นผู้ยินดีอยู่
                             ได้ ในหลีกเร้นสำหรับภาวนา.

                     (บทพิจารณายารักษาโรค)
ปะฏิสังขา  โยนิโส คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริก
ขารัง  ปฏิเสวามิ,    เราย่อมพิจารณาโดยแยบคาย
                          แล้วบริโภคเภสัชบริขาร  อัน
                            เกื้อกูลแก่คนไข้,    
ยาวะเทวะ  อุปปันนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนา
นัง  ปะฏิฆาตายะ  เพียงเพื่อบำบัดทุกขเวทนา อันบัง
                                 เกิดขึ้นแล้ว มีอาพาธต่างๆเป็นมูล,
อัพยาปัชฌะ  ปะระมะตายาติเพื่อความเป็นผู้ไม่มี
                          โรคเบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง ดังนี้.