"..การมาทับมิ่งขวัญนี้ เป็นการเริ่มต้นชีวิตใหม่ ต้องเป็นคนจริง ทำจริง พูดจริง เมื่อทำจริง พูดจริงก็ต้องรู้ของจริง จริงๆ.."
หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ 12 กรกฎาคม 2530
www.wattubmingkwan.com เวบหลัก วัดทับมิ่งขวัญ เวบนี้เป็นเพียง เวบสำรองครับผู้จัดทำ 9 มิถุนายน 2555

ศาสนพีธี


             Éภาค ศาสนพีธีÊ
             พิธีรับศีลและถวายทาน
            กราบ 3 ครั้ง...ว่าคำบูชาบูชาพระรัตนตรัย
   อิมินา สักกาเรนะ ตังพุทธัง อภิปูชายามิ.,  อะระหัง
สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,พุทธัง ภะคะวันตัง อภิวาเทมิ,(กราบ)               
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโมธัมมัง นะมัสสามิ,  (กราบ)                           
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆสังฆัง นะมามิ, (กราบ)         
                    (คำอาราธนาศลี 5)
              (ว่าคนเดียวหรือพร้อมกันก็ได้)
     - มะยัง  ภันเต วิสุง  วิสุง  รักขะนัตถายะ
       ติสะระเณนะสะหะ  ปัญจะ  สีลานิ  ยาจามะ,
     - ทุติยัมปิ  มะยัง ภันเต วิสุง  วิสุง รักขะนัตถายะ 
       ติสะระ   เณนะสะหะ  ปัญจะ  สีลานิ  ยาจามะ,
     - ตะติยัมปิ  มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ
       ติสะระเณนะสะหะ  ปัญจะ สีลานิ  ยาจามะ,

     (จากนั้นตั้งใจสมาทานศีล  โดยว่าตามพระ ดังนี้)
 นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ                      
                          (ว่า 3 จบ) 
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,     ธัมธัง สะระณัง คัจฉามิ,
 สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ,     ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,  ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง   คัจฉามิ  ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง  คัจฉามิ,  ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,   ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง  คัจฉามิ,

(พระว่า ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตัง,โยมรับว่า อามะ ภันเต,)

 1. ปาณาติปาตา  เวระมะณี สิกขาปะทัง  สะมาทิยามิ.
 2. อะินนาทานา  เวระมะณี สิกขาปะทัง  สะมาทิยามิ.
 3กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
     (ข้อ 3 ศีล ว่ากาเม ...... ศีล 8 ว่า อะพรัหมะ )
 3. อะพรัหมะจะริยา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,              
 4. มุสาวาทา  เวระมะณี  สิกขาปะทัง  สะมาทิยามิ.
 5. สุราเมระยะ มัชชะปะมา ทัฏฐานา เวระมะณี สิกขา
     ปะทัง สะมาทิยามิ.  (การรับศีล 5 ก็จบเพียงเท่านี้)    

            (ถ้าเป็นศีล 8 ก็ว่าต่อข้อที่ 6-8 ดังนี้ )..
 6. วิกาละโภชะนา เวระมะณี  สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
 7. นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสะนา มาลาคันธะวิเล
     ปะนะ ธาระณะ มัณฑะนะ วิภูสะนัฏฐานา  เวระ
     มะณี  สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
8.     อุจจาสะยะ นะมะหาสะยะนา เวระมะณี  สิกขา
ปะทัง  สะมาทิยามิ.

    (พระสรุปศีล 5 ปัญจะ.. ศีล 8 เปลี่ยนเป็น อัฏฐะ.)    
  อิมานิ  ปัญจะ สิกขาปะทานิสีเล  นะ สุคะติง  ยันติ,   
  สีเลนะ โภคะสัมปะทาสีเลนะ นิพพุติง ยันติตัสสะมา   
  สีลัง วิโสธะเย,    (โยมรับว่า สาธุ เป็น เสร็จพิธี)


                 คำถวายสังฆทานสามัญ
อิมานิมะยัง ภันเตภัตตานิ,  สะปะริวารานิ,   ภิกขุสังฆัสสะโอโนชะยามะ,  สาธุ  โน ภันเตภิกขุสังโฆ, 
อิมานิ  ภัตตานิ,  สะปะริวารานิ,  ปะฏิคคัณหาตุ  อัม-
หากัง,  ทีฆะรัตตังหิตายะ  สุขายะ,
          คำแปล ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวาย ภัตตาหาร กับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้,  แด่พระภิกษุสงฆ์,  ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ ภัตตาหาร,กับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้ของข้าพเจ้าทั้งหลาย,  เพื่อประ โยชน์และความสุข, แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, สิ้นกาลนานเทอญ
คำอาราธนาและรับศีล  
 มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ  สีลานิ ยาจามะ
ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต  ติสะระเณนะ  สะหะ อัฏฐะ  สีลานิยาจามะ
ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต  ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ
   คำแปล ข้าแต่ท่านผู้เจริญข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอศีล 5 พร้อมทั้งไตรสรณคมน์เพื่อจะรักษาแม้ครั้งที่ 2.แม้ครั้งที่ 3


คำอาราธนาอุโบสถศีล
    คำให้ศีลอุโบสถ ก็เหมือนกับการให้ศีล ทุกประการ ต่าง กันตอนสรุปพระนำให้โยมว่าตามทีละตอน ดังนี้  อิมัง  อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง, พุทธะปัญญัตตัง  อุโปสะถัง,  อิมัญจะ  รัตติง  อิมัญจะ  ทิวะสัง,  สัมมะเทวะ  อะภิรักขิตุง  สะมาทิยามิ,  (บางวัดพระก็ว่าคำแปลนำให้โยมว่าตามทีละตอนดังนี้ )
       ข้าพเจ้าขอสมาทาน,  ซึ่งองค์พระอุโบสถ,  ที่พระพุทธ เจ้าทรงบัญญัติไว้อันประกอบไปด้วยองค์ ประการดัง
สมาทานมาแล้วนี้เพื่อจะรับรักษาไว้ให้ดีมิให้ขาดมิให้ทำลาย,   ตลอดวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง,  ณ เพลาวันนี้,   ขอกุศลอันนี้,  จงเป็นอุปนิสัยและเป็นปัจจัย,  แก่อันกระทำให้แจ้ง,  ซึ่งพระนฤพาน,  ในอนาคตกาล เบื้องหน้าโน้นเทอญ,
              (โยมหยุดว่าตามเพียงเท่านี้  พระว่าต่อ)
         อิมานิ  อัฏฐะ  สิกขาปะทานิ  อุโปสะถะสีละวะเสนะ  สาธุกัง  กัตตะวา  อัปปะมาเทนะ  รักขิตัพพานิ ฯ (โยมรับว่า อามะ  ภันเต, ...พระว่าต่อ)  สีเลนะ  สุคะติง  ยันติ  สีเลนะ  โภคะสัมปะทา สีเลนะ  ิพพุติง ยันติ ตัสสะมา สีลัง วิโสธะเย, (โยมรับว่า สาธุ จบศลีอุโปสถ)




                   คำถวายสังฆทานอุทิศให้ผู้ตาย

        อิมานิ มะยัง ภันเตมะตะกะภัตตานิสะปะริวารานิภิกขุสังฆัสสะโอโณชะยามะ,  สาธุ โน ภันเตภิกขุสังโฆ,  อิมานิ  มะตะกะภัตตานิ,  สะปะริวารานิ ปะฏิคคัณหาตุ,  อัมหากัญเจวะ,  มาตาปิตุอาทีนัญจะ,  ญาตะกานัง,  ทีฆะรัตตัง,  หิตายะ,  สุขายะ,
    คำแปล ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ,  ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวายซึ่งมะตะกะภัตตาหาร  กับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้,  แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับมะตะกะภัตตาหารกับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้ของข้าพเจ้าทั้งหลาย,  เพื่อประโยชน์และความสุข,  แก่ข้าพเจ้าทั้งหลายด้วย,  แก่ญาติของข้าพเจ้าทั้งหลายมีบิดามารดา..(ชื่อ….ผู้จะอุทิศหาผู้ละโลกนี้ไปแล้ว จงมีความสุขตลอดกาลนานเทอญ.


                         คำถวายผ้ากฐิน
           อิมัง  ภันเต,  สะปะริวารัง,  กะฐินะจีวะระทุสสัง,  สังฆัสสะ,  โอโณชะยามะ,  สาธุโน ภันเต,  สังโฆ,  อิมังสะปะริวารัง,  กะฐินะทุสสังปะฏิคคัณหาตุปะฏิคคะเหตวา  จะ,  อิมินา  ทุสเสนะ,  กะฐินัง,  อัตถะระตุ  อัมหากัง,  ทีฆะรัตตัง,  หิตายะ,  สุขายะ.
     คำแปล ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวายผ้ากฐินจีวรกับทั้งบริวารเหล่านี้,  แด่พระภิกษุสงฆ์ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับผ้ากฐินกับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้ของข้าพเจ้าทั้งหลาย,  รับแล้วจงกรานกฐินด้วยผ้านี้เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, สิ้นกาลนาน เทอญ.
                                                    ËËË   zzz    ËËË

                              คำอาราธนาธรรม
               (ใช้ว่าเพื่อนิมนต์พระแสดงธรรม)
           พรัหมมา จะ โลกาธิปะติสะหัมปะติกัตอัญชะลี อันธิวะรัง อะยาจะถะสันตีธะสัตตาปปะระชักขะชาติกาเทเสตุ ธัมมัง อะนุกัมปิมัง  ปะชัง,  
   คำแปล ท้าวสหัมบดีพรหม ผู้เป็นอธิบดีในโลกได้ประคองอัญชลีทูลวิงวอนพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมโปรดสัตว์ผู้มีธุลีในดวงตาน้อยมีอยู่ในโลก,  ขอพระคุณเจ้าโปรดแสดงธรรมอนุเคราะห์ด้วยเถิด (ใช่อาราธนาเวลาพระจะแสดงธรรม)




                          คำอาราธนาพระปริตร
    (ใช้ว่าก่อนเจริญพระพุทธมนต์ในงานมงคลต่างๆ)
วิปัตติปะฏิพาหายะ  สัพพสัมปัตติสิทธิยา  สัพพะ  ทุกขะ  วินาสายะ  ปะริตตัง พรูถะ  มังคะลัง,  วิปัตติปะฏิพาหายะ  สัพพะสัมปัตติสิทธิยา สัพพะ  ภะยะ  วินาสายะ  ปะริตตัง  พรูถะ  มังคะลัง,  วิปัตติปะฏิพาหายะ  สัพพะสัมปัตติสิทธิยา สัพพะ  โรคะวินาสายะ   ปะริตตัง  พรูถะ  มังคะลัง, 
      คำแปล ขอพระคุณเจ้าโปรดสวดพระปริตรอันเป็นมงคล,
เพื่อป้องกันความวิบัติเพื่อสำเร็จแห่งสมบัติทุกประการ, เพื่อ   ให้ทุกข์ ภัย โรค อันตรายใดๆทุกชนิด,  จงพินาศสูญไป,

                                  คำลากลับบ้าน
(เมื่อโยมไปรักษาศีลอุโปสถที่วัดจะลากลับบ้าน นิยมใช้คำลา ดังนี้)…โยมผู้ลาว่า....หันทะทานิ  มะยัง  ภันเต  อาปุจฉามะ  พะหุ กิจจา มะยัง พะหุกะระณียา,  (พระสงฆ์ผู้รับลาว่า) ยัสสะทานิ  ตุมเห  กาลัง  มัญญะถะ  ผู้ลาว่า สาธุ ภันเต แล้วกราบ 3  ครั้ง เสร็จพิธี.


คำขอบรรพชาอุปสมบท  (แบบเอสาหัง)

      กุลบุตรผู้มีศรัทธามุ่งบรรพชาอุปสมบท  พึงรับผ้าไตรจากผู้มอบให้อุ้มประณมมือเข้าไปในท่ามกลางสงฆ์  วางผ้าไตรไว้ข้างตัวด้านซ้าย  รับเครื่องสักการะถวายแก่พระอุปัชฌาย์  แล้วกราบ  ๓ ครั้ง  นั่งคุกเข่าอุ้มผ้าไตรประณมมือเปล่งวาจาถึงสรณะและขอบรรพชาว่า:-
               .)  เอสาหัง  ภันเต  สุจิระปะรินิพพุตัมปิตัง  ภะคะวันตัง  สะระณัง  คัจฉามิ,  ธัมมัญจะ  ภิกขุสังฆัญจะ,  ละเภยยาหัง  ภันเต,ตัสสะ  ภะคะวะโต,  ธัมมะวินะเย ปัพพะชังละเภยยัง อุปสัมปะทัง,               
                ทุติยัมปาหัง  ภันเต  สุจิระปะรินิพพุตัมปิ,  ตัง  ภะคะวันตัง  สะระณัง คัจฉามิ,  ธัมมัญจะ  ภิกขุสังฆัญจะละเภยยาหัง ภันเต,   ตัสสะ ภะคะวะโต,  ธัมมะวินะเย ปัพพะชัง,  ละเภยยัง  อุปสัมปะทัง,               
               ตะติยัมปาหัง  ภันเต,  สุจิระปะรินิพพุตัมปิตัง  ภะคะวันตัง  สะระณัง  คัจฉามิ,    ธัมมัญจะ  ภิกขุสังฆัญจะ,    ละเภยยาหัง ภันเต,         ตัสสะ  ภะคะวะโตธัมมะวินะเย ปัพพะชัง,    ละเภยยัง อุปสัมปะทัง,               
      .) อะหัง  ภันเตปัพพัชชัง  ยาจามิ,  อิมานิ กาสายานิ วัตถานิปัพพัชชัง  ยาจามิ,  กาสายานิ  วัตถานิ  คะเหตตะวา,  ปัพพาเชถะ  มัง ภันเตอะนุกัมปัง  อุปาทายะ
         ทุติยัมปิ  อะหัง  ภันเตปัพพัชชัง  ยาจามิอิมานิ  กาสายานิ วัตถานิ คะเหตตะวาปัพพาเชถะ มัง ภันเตอะนุกัมปัง  อุปาทายะ 
        ตะติยัมปิ  อะหัง ภันเตปัพพัชชัง  ยาจามิ,  อิมานิ กาสายานิ วัตถานิ คะเหตตะวาปัพพาเชถะ มัง ภันเตอะนุกัมปัง  อุปาทายะ
              ถ้าบวชเป็นสามเณรให้ ยกคำว่า "ละเภยยัง  อุปสัมปะทัง"ออกเสียในลำดับนั้น  พระอุปัชฌาย์รับเอาผ้าไตรจากผู้บวชวางไว้หน้าตัก  แล้วกล่าว สอนถึงพระรัตนตรัยเป็น
ต้น  และบอก "ตะจะปัญจะกะกัมมัฎฐาน" ให้ว่าตามไปทีละ
บท โดยอนุโลม และปฏิโลม ดังนี้. -
    .)    เกสา  โลมา  นะขา  ทันตา  ตะโจ    (อนุโลม)     
              ตะโจ  ทันตา  นะขา  โลมา  เกสา    (ปฏิโลม)
  ครั้นสอนแล้วพระอุปัชฌาย์ชักอังสะออกจากไตรสวมให้แล้ว  สั่งให้ออกไปครองไตรจีวรตามระเบียบ  ครั้นเสร็จแล้วเข้าไปหาพระอาจารย์  รับเครื่องสักการะถวายท่านแล้วกราบ ๓ หน นั่งคุกเข่า ประณมมือเปล่งวาจาขอสรณะและศีลดังนี้,
     .) อะหัง  ภันเต สะระณะสีลัง  ยาจามิ,
               ทุติยัมปิ  อะหัง  ภันเต  สะระณะสีลัง  ยาจามิ,  
               ตะติยัมปิ  อะหัง ภันเต  สะระณะสีลัง  ยาจามิ,                           
ลำดับนั้น พระอาจารย์กล่าวนำให้ผู้มุ่งบรรพชาว่าตามไป ดังนี้
   นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ,
(ว่า ๓ หนแต่นั้นพระอาจารย์พึงสั่งด้วยคำว่า"เอวัง วะเทหิ" หรือ "ยะมะหัง วะทามิ  ตัง วะเทหิ" พึงรับว่า"อามะ ภันเต"  ครั้นแล้วท่านนำให้เปล่งวาจาว่า สรณคมน์ ไปทีละพากย์ดังนี้-
  พุทธัง    สะระณัง  คัจฉามิ,   ธัมมัง    สะระณัง  คัจฉามิ,   
  สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
  ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง
  คัจฉามิ,  ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิตะติยัมปิ    
  ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
       เมื่อจบแล้วท่านบอกว่า  "ติสะระณะคะมะนัง  นิฎฐิตัง" พึงรับว่า อามะ  ภันเต  ลำดับนั้นพระอาจารย์จะบอกให้รู้ว่า   การบวชเป็นสามเณรสำเร็จด้วยสรณคมน์เพียงเท่านี้  ทีนี้พึงสมาทานสิกขาบท ๑๐ ประการว่าตามท่านดังนี้:-
. ปาณาติปาตา เวระมณี   2. อะทินนาทานา  เวระมณี,
อะพรัหมะจะริยา  เวระมณี,  มุสาวาทา   เวระมณี,   
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี,
วิกาละโภชะนา เวระมะณี,
นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนา  เวระมะณี,
มาลาคันธะวิเลปะนะ ธาระณะมัณฑะนะ วิภูสะ
     นัฏฐานา  เวระมะณี,
.  อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา  เวระมะณี,
๑๐ชาตะรูปะระชะตะปะฏิคคะหะณา  เวระมะณี,
       อิมานิ  ทะสะ สิกขาปะทานิ  สะมาทิยามิ(ว่า ๓ หน)
       ลำดับนั้น  สามเณรพึงรับบาตร  อุ้มเข้าไปหาพระอุปัชฌาย์ในท่าม กลางสงฆ์ วางไว้ข้างตัวด้านซ้าย  รับเครื่องสักการะถวายท่าน  แล้วกราบ  ๓ หนนั่งคุกเข่าประณมมือกล่าวคำขอนิสัย  ว่าดังนี้.-
     (.)   อะหัง  ภันเต                       นิสสะยัง  ยาจามิ,
             ทุติยัมปิ  อะหัง  ภันเต         นิสสะยัง  ยาจามิ,
             ตะติยัมปิ  อะหัง  ภันเต       นิสสะยัง  ยาจามิ,
พระอุปัชฌายะกล่าวว่า โอปายิกัง,  ปะฏิรูปัง,  ปาสาทิเกนะ, 
สัมปาเทหิ, บทใดบทหนึ่งพึงรับว่า  สาธุ  ภันเต   ทุกบทไป 
      อุปัชฌาโย  เม  ภันเต  โหหิ    (ว่า 3  หน)
อัชชะตัคเคทานิ เถโรมัยหัง ภาโรอะหัมปิ  เถรัสสะภาโร 
   ว่า หน แล้วกราบลง หน (บวชสามเณรจบเพียงเท่านี้)

        (.) ลำดับนั้น  พระอุปัชฌายะแนะนำสามเณรไปตามระเบียบแล้ว  พระอาจารย์ผู้เป็นกรรมวาจา  เอาบาตรมีสายคล้องตัวผู้อุปสมบท บอกบาตรและจีวร  ผู้มุ่งอุปสมบทพึงรับว่า  อามะ  ภันเต  4 หนดังนี้ -
  พระอุปัชฌาย์บอกบาตรและผ้าต่างๆคำว่า  สามเณรพึงรับว่า
1.อะยันเต ปัตโต(นี่บาตรของเธออามะ ภันเต (ขอรับ เจ้าข้า)
2.อะยัง สังฆาฏิ (นี่ผ้าสังฆาฏิ)     อามะ ภันเต(ขอรับ เจ้าข้า)
3.อะยัง อุตตะราสังโค (นี่ผ้าห่ม)อามะ ภันเต (ขอรับ เจ้าข้า)
4.อะยัง อันตะระวาสะโก(นี่ผ้านุ่ง)อามะ ภันเต(ขอรับ เจ้าข้า)
        (.)ต่อจากนั้น  พระอาจารย์ท่านบอกให้ออกไปข้างนอกว่า  "คัจฉะ  อะมุมหิ โอกาเส ติฏฐาหิ"   พึงถอยออกลุกขึ้นไปยืนอยู่ในที่ที่กำหนดไว้ พระ อาจารย์ท่านสวดสมมุติตนเป็นผู้สอนซ้อม  แล้วออกไปสวดถามอันตรายิกธรรม  ให้พึงรับว่า "นัตถิ  ภันเตหน "อามะ  ภันเตหน ดังนี้.-
       ถาม                                                              ตอบ                        
1. กุฏฐัง   (โรคเรื้อน)                นัตถิ   ภันเต   (ไม่มี เจ้าขัา)
2. คัณโฑ  (โรคฝี,หัด,อีสุกอีใส) นัตถิ    ภันเต   (ไม่มี เจ้าขัา)
3. กิลาโส  (โรคกลาก)              นัตถิ   ภันเต   (ไม่มี เจ้าขัา)
4. โสโส      (โรคมองคร่อ)         นัตถิ    ภันเต   (ไม่มี เจ้าขัา)          
5. อะปะมาโร  (โรคลมบ้าหมู)  นัตถิ    ภันเต   (ไม่มี เจ้าขัา)                1. มะนุสโสสิ๊(เจ้าเป็นมนุษย์หรือ)อามะ  ภันเ   (ขอรับ เจ้าข้า)     
2. ปุริโสสิ๊  (เป็นชายหรือ)       อามะ   ภันเต    (ขอรับ เจ้าข้า)             3. ภุชิสโสสี๊ (เป็นไทไม่ใช่ทาสหรือ) อามะ ภันเต(ขอรับ เจ้าข้า)               
4.อะนะโณสิ๊ (ไม่มีหนี้สินหรือ) อามะ  ภันเต  (ขอรับ เจ้าข้า)             5.นะสิ๊ ราชะภะโฏ(ไม่ใช่ข้าราชการหรือ)อามะ ภันเต(ขอรับ”)     
6. อะนุญญาโตสิ๊ มาตาปิตูหิ(มารดาบิดาอนุญาตหรือ)อามะ
                                                           ภันเต(ขอรับเจ้าข้า)     
7. ปะริปุณณะวีสะติวัสโสสิ๊(อายุครบ20ปีแล้วหรือ)อามะ
                                                          ภันเต(ขอรับ เจ้าข้า)     
8. ปะริปุณณันเต ปัตตะจีวะรัง (บาตรจีวรมีครบหรือ)อามะ
                                                          ภันเต  (ขอรับ เจ้าข้า)
1.กินนาโมสิ๊ (เธอชื่ออะไร)อะหัง ภันเต.(กระผมชื่อ)(...นามะ)
2. โก นามะ เต อุปัชฌาโย,    (อุปชฌาย์เธอชื่ออะไร)
   อุปัชฌาโย เม ภันเต อายัสะมา. (อุปัชฌาย์กระผมชื่อ)
    (....นามะ)   ถ้าตอบพร้อมกันให้เปลี่ยน "อุปัชฌาโย เมเป็น "อุปัชฌาโย โน"    
       ครั้นสวดซ้อมแล้ว  ท่านกลับเข้ามาสวดเรียกอุปสัมปทาเปกขะ(สามเณร)พึงเข้ามาในท่ามกลางสงฆ์ กราบลงตรงหน้าพระอุปัชฌาย์ หน แล้วนั่งคุกเข่าประณมมือ  เปล่งวาจาขออุปสมบท ดังนี้.-
(9.)   สังฆัม  ภันเต  อุปะสัมปะทัง  ยาจามิอุลลุมปะตุ
       มัง  ภันเต,     สังโฆ  อะนุกัมปัง  อุปาทายะ.
        -ทุติยัมปิ  ภันเต   สังฆัง   อุปะสัมปะทัง  ยาจามิ, 
         อุลลุมปะตุ มัง ภันเตสังโฆ อะนุกัมปัง อุปาทายะ.
        -ตะติยัมปิ  ภันเต  สังฆัง  อุปะสัมปะทัง  ยาจามิ,
        อุลลุมปะตุ มัง ภันเตสังโฆ  อะนุกัมปัง อุปาทายะ.
   แปลว่า กระผมขออุปสมบทต่อสงฆ์  ขอสงฆ์จงโปรดยก 
              กระผมขึ้นเถิด แม้ครั้งที่ 2 .......แม้ครั้งที่ 3 ........
           ในลำดับนั้น  พระอุปัชฌาย์กล่าวเผดียงสงฆ์แล้ว  และพระอาจารย์ (คู่สวดสวดสมมุติตน  ถามอันตรายิกธรรมอุปสัมปทาเปกขะ  พึงรับว่า  "นัตถิ ภันเตหน  "อามะ  ภันเตหน  บอกชื่อตนและชื่ออุปัชฌาย์  โดยนัยหนหลัง  แต่นั้นพึงนั่งฟังท่านสวดกรรมวาจาอุปสมบทไปจนจบ ครั้นจบแล้วเอาบาตรออกจากตัว แล้วพึงกราบ หน นั่งพับเพียบประณมมือ ฟังพระอุปัชฌาย์บอกอนุศาสน์ไปจนจบแล้วรับว่า "อามะ ภันเตแล้วกราบ หน ถวายไทยทาน  กรวดน้ำเป็นอันเสร็จพิธี   จบการบวชแบบเอสาหัง      
                        }}}}}   WWW   ~~~~~~  



          
                     คำลาสิกขา (สึกจากพระ)

         ผู้จะลาสิกขาพึงแสดงอาบัติ  แล้วเข้าไปหาพระที่เป็นประธาน  กราบ ครั้ง แล้วว่านะโม...3 จบ แล้วกล่าวคำลาสิกขาดังนี้  ข้าพเจ้าขอปฏิญาณว่าไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์เป็นภิกษุ ต่อไปได้  สิกขังปัจจักขามิ  คิหิติ  มัง  ธาเรถะ = ข้าพเจ้าขอลาสิกขา  ขอท่านทั้งหลาย จงจำข้าพเจ้าว่าเป็นคฤหัสถ์    บัดนี้  (ว่า หน)
        พระผู้เป็นประธานชักสังฆาฏิออกจากบ่า(กราบ ครั้ง)แล้วออกไปเปลี่ยนผ้านุ่งห่มแล้วกลับมาที่เดิมสมาทานศีล จบแล้วกราบ ครั้ง ตั้งใจฟังโอวาท  ถวายไทยทาน (ถ้ามีพระสงฆ์อนุโมทนาเป็นเสร็จพิธี.
                                                                   
                                   คำขอบวชชี
         ผู้ประสงค์จะบวชชี ทั้งแบบปลงผมและไม่ปลงผม (ถ้าแบบปลงผม ก็ปลงผมก่อนนุ่งห่มชุดชาวบ้านธรรมดา  ถือเครื่องสักการะเข้าไปหาพระสงฆ์ องค์เดียวก็ได้ หลายองค์ก็ดี  ถวายเครื่องสักการะแล้วกราบ  ครั้ง  จึงกล่าวคำขอ  (นี่ว่าตามแบบที่สถาบันแม่ชีไทยใช้อยู่  และนิมนต์พระสงฆ์ รูปขึ้นไป ส่วนที่อื่นปลงผมหรือไม่ปลงผม แต่งเครื่องแบบหรือชุดของแม่ชีเรียบร้อย เข้าไปหาพระสงฆ์กล่าวคำขอบวชเลยก็มี)
         เอสาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิตัง ภะคะวันตัง  สะระณัง  คัจฉามิ,  ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะปัพพัชชัง  มัง  ภันเต,สังโฆ ธาเรตุ อัชชะตัคเค ปาณุเปตังสะระณัง คะตัง.   (พระสงฆ์รับสาธุ)
       ข้าแต่ท่านผู้เจริญ  ข้าพเจ้าขอถึงสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า แม้เสด็จดับขันธ์ปรินิพพานนานแล้ว  กับทั้งพระธรรมและพระสงฆ์ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก ขอพระสงฆ์จงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นผู้บวชในพระธรรมวินัย   ผู้ถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป(จากนั้นสมาทานศีล ต่อไป)
                           คำปวารณาออกพรรษา
        สังฆัง  ภันเต  ปะวาเรมิ  ทิฏเฐนะ วา  สุเตนะ วา,  ปะริสังกายะวา  วะทันตุ  มัง  อายัสมันโต  อะนุกัมปัง  อุปาทายะ  ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิฯ.    ข้าพเจ้าขอปวารณาต่อสงฆ์  ให้ว่ากล่าวตักเตือน  ด้วยได้เห็นก็ดี  ได้ยินได้ฟังก็ดี  หรือด้วยสงสัยก็ดี  ขอท่านทั้งหลายอาศัยความเมตตากรุณา  ว่ากล่าวตักเตือนข้าพเจ้าด้วยเถิด,  เมื่อข้าพเจ้าเห็นกรรมอันไม่ดีไม่งามเช่นนั้นอยู่  จักแก้ไขกลับตัวเสียใหม่,  อิติ ดังนี้แล    
  ทุติยัมปิ ภันเต สังฆัง  ปะวาเรมิ.แปล แม้ครั้งที่ ข้าพเจ้า.
  ตะติยัมปิ ภันเต สังฆัง ปะวาาเรมิ.แปล แม้ครั้งที่ ข้าพเจ้า.

คำอธิษฐาน(ก่อนจะใช้ผ้า)
      (สังฆาฏิ)    อิมัง  สังฆาฏิง  อะธิฏฐามิ
                    (เราอธิษฐานชึ่งผ้าสังฆาฏิผืนนี้)
      (จีวร)         อิมัง อุตตะราสังคัง อะธิฏฐามิ
                 (เราอธิษฐานซึ่งผ้าห่มผืนนี้)
      (สบง)       อิมัง  อันตะระวาสะกัง อะธิฏฐามิ,
                         (เราอธิษฐานซึ่งผ้านุ่งผืนนี้)
                                    คำวิกัปป์
                  (ทำให้เป็น ๒ เจ้าของร่วมกัน)
อิมัง จีวะรัง ตุยหัง วิกัปเปมิ (ถ้าหลายผืนว่า อิมานิ จีระรานิ ตุยหัง วิกัปเปมิคำแปล ข้าพเจ้าวิกัปป์จีวรผืนนี้ แก่ท่าน

                        คำอธิษฐานผ้ากฐิน(กราน)
(สังฆาฎิอิมายะ สังฆาฎิยา กะฐินัง  อัตถะรามิ (ว่า ๓ หน)
              ข้าพเจ้ากรานกฐินด้วยผ้าสังฆาฏิผืนนี้
(จีวรอิมายะ อุตตะราสังเคนะ กะฐินัง อัตถะรามิ (ว่า๓หน) 
              ข้าพเจ้ากรานกฐินด้วยผ้าห่มผืนนี้
(สบง)อิมายะ อันตะระวาสะเกนะ กะฐินัง อัตถะรามิ(ว่า๓หน)  
              ข้าพเจ้ากรานกฐินด้วยผ้านุ่งผืนนี้
คำพินทุผ้า
ก่อนจะใช้ผ้าต้องพินทุด้วยสีใดสีหนึ่งใน  ๓ สี คือ สีครามสีโคลนสีดำ,(ปัจจุบันนิยมใช้ปากกาโดยทำเป็นจุด (      ที่มุมผ้าด้านใดด้านหนึ่ง เมื่อจ้ำปากกาลงแล้วหนุนพร้อมว่า  อิมัง  พินทุกัปปัง  กะโรมิ  (เราทำเครื่องหมายไว้ด้วยจุดนี้)
คำเสียสละหรือถอน
        (จะเปลี่ยนใหม่ต้องยกเลิกบริขารเดิมเสียก่อน)
    (สังฆาฏิ)   อิมัง สังฆาฏิ  ปัจจุทธะรามิ
                  (ข้าพเจ้ายกเลิกผ้าสังฆาฏิผืนนี้)
   (จีวร)         อิมัง อุตตะราสังคัง ปัจจุทธะรามิ
                    (ข้าพเจ้ายกเลิกผ้าหม่ผืนนี้)
   (สงบ)         อิมัง อันตะระวาสะกัง ปัจจุทธะรามิ
                 (ข้าพเจ้ายกเลิกผ้านุ่งผืนนี้)

                         คำขอขมาโทษ
(ผู้ขอเถเร  ปะมาเทนะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง  อะปะราธัง   ขะมะถะ เม ภันเต (ถ้าขอหลายรูปเปลี่ยน ขะมะถะ เมเป็น ขะมะตุโน)  (ผู้รับ) อะหัง ขะมามิ ตะยาปิ เม ขะมิตัพพัง(ถ้าผู้ขอหลายรูปเปลี่ยน  ตะยาปิ  เป็น  ตุมเหหิปิ)
ขะมามิ  ภันเต (ถ้าขอหลายรูปเปลี่ยน  มิ เป็น  มะ)
คำอธิษฐานเข้าพรรษา
  อิมัสมิง อาวาเส  อิมัง เตมาสัง  วัสสัง อุเปมิ (ว่า  ๓ จบ)     
เราทั้งหลาย เข้าถึงฤดูฝนอยู่ในอาวาสนี้ตลอดพรรษา ๓ เดือน
คำอนุโมทนากฐิน
        อัตถะตัง  อาวุโส  (ภันเต)  สังฆัสสะ  กะฐินัง  ธัมมิโก  กะฐินัตถาโร  อะนุโมทะถะ  (ว่า ๓ หน)  ในวงเล็บสำหรับมีภิกษุอื่นที่มีพรรษามากกว่าผู้ครองกฐินแล้วพระสงฆ์ทั้งปวงกล่าวอนุโมทนาต่อไปว่า อัตถะตัง   ภันเต  (อาวุโส)  สังฆัสสะ  กะฐินัง  ธัมมิโก  กะฐินัตถาโร อะนุโมทามะ    (ว่า ๓ หน) ในวงเล็บสำหรับมีภิกษุอื่นที่มีพรรษามากกว่าผู้ครองกฐิน   
คำแสดงอาบัติ
   พรรษาอ่อนกว่า สัพพา ตา อาปัตติโย อาโรเจมิ ( หน)
                    กระผมขอบอกอาบัติ  เบาทั้งหลายเหล่านั้น
     สัพพา คะรุละหุกา อาปัตติโย อาโรเจมิ (ว่า หน)
                    กระผมขอบอกอาบัติ เบาทั้งหลายเหล่านั้น
     อะหัง  ภันเต  สัมพะหุลา  นานาวัตถุกาโย  อา
     ปัตติโย  อาปัชชิง  ตา  ตุมหะ มูเล  ปะฏิเทเสมิ
                     ท่านผู้เจริญกระผมต้องอาบัติทั้งหลาย
                    มีวัตถุต่างกันมากหลาย กระผมขอแสดง
                    อาบัติทั้งหลายเหล่านั้น  ณ แทบเท้าท่าน
พรรษาแก่รับว่า ปัสสะสิ อาวุโส ตา อาปัตติโย,  ผู้มีอายุ   
                    ท่านย่อมเห็นอาบัติทั้งหลายเหล่านั้นหรือ ?
พรรษาอ่อนว่า   อุกาสะ  อามะ  ภันเต  ปัสสามิ,
                    ขอโอกาสขอรับท่านผู้เจริญกระผมเห็น,
พรรษาแก่รับว่า อายะติง  อาวุโส  สังวะเรยยาสิ, 
                    ผู้มีอายุต่อไปท่านพึงสำรวมเถิด,
พรรษาอ่อนว่า  สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ,
                    กระผมจักสำรวมด้วยดี
                         ทุติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ,  
                    แม้ครั้งที่สองกระผมจักสำรวมด้วยดี
                         ตะติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ,
                    แม้ครั้งที่สามกระผมจักสำรวมด้วยดี
                         นะ  ปุเนวัง  กะริสสามิ (ผู้รับว่า)  สาธุ
                    กระผมจักไม่ทำอย่างนั้นอีก           ดีละ
                         นะ  ปุเนวัง  ภาสิสสามิ (ผู้รับว่า สาธุ
                        กระผมจักไม่กล่าวอย่างนั้นอีก       ดีละ
                         นะ  ปุเนวัง  จินตะยิสสามิ(ผู้รับว่า)สาธุ
                    กระผมจักไม่คิดอย่างนั้นอีก         ดีละ
 พรรษาแก่ ผู้แสดงอาบัติว่า (แปลคล้ายกันจึงไม่นำมา)
พรรษาแก่แสดง..สัพพา ตา อาปัตติโย  อาโรเจมิ (ว่า หน) 
"----------" สัพพา คะลุละหุกา อาปัตติโย อาโรเจมิ(ว่า3หน)
"-------------" อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย  อา
                    ปัตติโย  อาปัชชิง ตา  ตุยหะ มูเล  ปะฏิเทเสมิ
พรรษาอ่อนว่า อุกาสะ ปัสสะถะ  ภันเต  ตา  อาปัตติโย, 
พรรษาแก่ว่า   อามะ  อาวุโส  ปัสสามิ, 
พรรษาอ่อนว่า อายะติง  ภันเต  สังวะเรยยาถะ, 
พรรษาแก่ว่า   สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ, 
                       ทุติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ, 
                     ตะติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ,
                     นะ  ปุเนวัง  กะริสสามิ       (ผู้รับว่า)  สาธุ
                    นะ  ปุเนวัง  ภาสิสสามิ,     (ผู้รับว่า)  สาธุ
                     นะ  ปุเนวัง  จินตะยิสสามิ,(ผู้รับว่า)  สาธุ  

แบบกรรมวาจาสวดกฐิน

ตั้ง นะโม ๓ หน)””  สุณาตุ  เม  ภันเต สังโฆอิทัง  สังฆัสสะ กะฐินะทุสสัง  อุปปันนัง  ยะทิ  สังฆัสสะ ปัตตะกัลลังสังโฆ อิมัง กะฐินะทุสสัง อายัสะมะโต (.................) ทะเทยยะกะฐินัง  อัตถะริตุงเอสา  ญัตติ,
    สุณาตุ  เม  ภันเต  สังโฆ,  อิทัง  สังฆัสสะ  กะฐินะทุสสัง  อุปปันนังสังโฆ อิมัง กะฐินะทุสสัง อายัสะมะโต (............) เทติกะฐินัง อัตถะริตุง,  ยัสสายัสะมะโต  ขะมะติ,  อิมัสสะ  กะฐินะทุสสัสสะ  อายัสะมะโต (...........)ทานัง,  กะฐินังอัตถะริตุง,โส  ตุณะหัสสะ ยัสสะ นักขะมะติโส ภาเสยยะ,
        ทินนัง อิทัง  สังเฆนะ,  กิฐินะทุสสัง  อายัสะมะโต (..........)กะฐินัง   อัตถะริตุงขะมะติ  สังฆัสสะ  ตัสะมา  ตุณหีเอวะเมตังธาระยามิ.(ในวงเล็บนั้นให้ใส่ชื่อครองกฐิน)

 คำอุปโลกน์กฐิน(แบบ ๒ รูป)
รูปที่ ๑ ตั้งพัดว่า.. ผ้ากฐินทานกับผ้าอานิสังสบริวารทั้งปวงนี้ ของ.............พร้อมด้วย..........ผู้ประกอบด้วยศรัทธา  อุตสาหะพร้อมเพรียงกันนำมาถวาย,  แด่พระภิกษุสงฆ์ผู้อยู่จำพรรษาถ้วนไตรมาส ในอาวาสนี้ก็แลผ้ากฐินทานนี้เป็นของบริสุทธิ์ ดุจเลื่อนลอยมาโดยนภากาศ,แล้วแลตกลงในท่ามกลางสงฆ์  มิได้จำเพาะเจาะจงแก่พระสงฆ์รูปใดรูปหนึ่งก็หามิได้,  มีพระบรมพุทธานุญาตไว้ว่าให้พระสงฆ์ทั้งปวงยินยอมอนุญาตให้ แก่ภิกษุ รูปหนึ่ง,  เพื่อจะทำกฐินนัตถารกิจให้ถูกต้องตามบรมพุทธานุญาต,  และมีคำพระอรรถกถาจารย์ผู้รู้พระบรมพุทธาธิบายสังวรรณนาไว้ว่าภิกษุรูปใดประกอบด้วยศีลสุตาธิคุณมี
สติปัญญาสามารถรู้ธรรม ประการมีบุพกิจเป็นต้น ภิกษุรูปนั้นจึงสมควรเพื่อจะกระทำกฐินนัตถารกิจ ตามพระบรมพุทธานุญาตได้....บัดนี้ พระสงฆ์ทั้งปวงจะเห็นสมควรแก่ภิกษุรูปใดจงพร้อมกันยินยอม ยกให้แก่ภิกษุรูปนั้นเทอญ  (ไม่ต้องสาธุ)

รูปที่ ๒ตั้งพัดว่า..ผ้ากฐินทานกับทั้งผ้าอานิสังสบริวารทั้งปวง ข้าพเจ้าพิจารณาแล้วเห็น  สมควรแก่...””.....เป็นผู้มีสติปัญญาสามารถ  เพื่อกระทำกฐินัตถารกิจให้ถูกต้องตามพระบรมพุท ธานุญาตได้ถ้าพระภิกษุรูปใดเห็นไม่สมควรจงทัก ท้วงขึ้นในท่ามกลางสงฆ์  (หยุดนิดหนึ่ง  ถ้าเห็นสมควรแล้วไซร้จงให้ สัททสัญญา สาธุการขึ้นให้พร้อมกันเทอญ(พระสงฆ์รับสาธุ)
                              จบภาคที่ 8  
               FFFFF  vvvvv GGGGG

















              }}}}   WWWWW   ~~~~

            }}}}}}WWWWW   ~~~~~~~~








      dddddd kkkkk dddddd
10.   คำชักผ้าป่าที่เขาทอดทิ้งไว้
 อิทัง วัตถัง อัสสามิกัง  ปังสุกูละจีวะรัง  มัยหัง ปาปุณาติ.
 คำแปล ..ผ้าบังสกุลจีวร  อันหาเจ้าของมิได้นี้  ย่อมถึงแก่เรา.
11.คำชักผ้าป่าที่มีเจ้าของคอยรับพร
 อิทัง วัตถัง สัสสามิกัง  ปังสุกูละจีวะรัง  มัยหัง ปาปุณาติ.
 คำแปล.... ผ้าบังสกุลจีวร  อันนี้มีเจ้าของ  ย่อมถึงแก่เรา.
7.  คำถวายทานสามัญ
      อิทัง เม ทานัง มาตาปิตุอาทีนังญาตะกานัง สังวัตตะตุ  มัยหัง,  มาตาปิตาทะโยญาตะกาอิมัสสะ ทานัสสะปัตติง ละภันตุมะมะ  เจตะสา.     
      คำแปล ทานของข้าพเจ้าจงเป็นไปเพื่อญาติทั้งหลายมีมารดาบิดาเป็นต้น,จงได้รับส่วนบุญแห่งทานนี้ตามความประสงค์ของข้าพเจ้าเทอญ.
17.   คำถวายเทียนพรรษา
                ยัคเฆ ภันเต  สังโฆปะฏิชานาตุ,  มะยัง ภันเตเอตัง  ปะทีปะสะปะริวารัง,  เตมาสัง พุทธัสสะปูชะนัตถายะ,  อิมัสสะหมิง,  อุโปสะถา คาเร  (วิหาเร),  นิยยาเทมะ,   สาธุ   โน  ภันเต,  อะยัง  เตมาสังพุทธัสสะ,  ปูชะนัตถายะ,   ปะทีปะ,  ทานัสสะ อานิสังโสอัมหากัญเจวะ,   มาตาปิ ตุ,   อาทินัญจะปิยะชะนานัง,   ฑีฆะรัตตังหิตายะ สุขายะสังวัตตะตุ,
         คำแปล  ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ,  ขอพระสงฆ์จงรับทราบข้าพเจ้า ทั้งหลายขอน้อมถวายเทียนพรรษากับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้,ไว้ ณ.พระอุโบสถ (วิหารนี้เพื่อเป็นพุทธบุชาตลอดพรรษาขออานิสงส์แห่งการถวายเทียนพรรษาเพื่อเป็นพุทธบูชาตลอดพรรษานี้,  ของข้าพเจ้าทั้งหลายจงเป็นไปเพื่อประโยชน์และความสุข,  แก่ข้าพเจ้าทั้งหลายด้วยแก่ปิยะชนทั้งหลาย,  มีมารดาบิดาเป็นต้นด้วยสิ้นกาลนานเทอญ,
13. คำถวายสลากภัตต์
             เอตานิ  มะยัง ภันเตสะลากะภัตตานิ,   สะปะริวารานิ,  อะสุกัฏฐาเน,  ฐะปิตานิ,  ภิกขุสังฆัสสะ,  โอโณชะยามะสาธุ โน ภันเต,  ภิกขุสังโฆเอตานิ,   สะลากะภัตตานิ,  สะปะริวารานิ,  ปะฏิคคัณหาตุ,  อัมหากัง,  ทีฆะรัตตัง,  หิตายะ,  สุขายะ.
             คำแปล   ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญสลากภัตตาหารกับทั้งบริวารทั้งหลายซึ่งตั้งไว้ ณ ที่โน้นนั้นข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวายแด่พระภิกษุสงฆ์,  ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับึ่งสลากภัตตาหารกับทั้งบริวารเหล่านี้,   ของข้าพเจ้าทั้งหลาย,   เพื่อประโยชน์และความสุข,   แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย,  สิ้นกาลนาน  เทอญ
14.คำถวายเสนาสนะ กุฏิ วิหาร
            อิมานิ  มะยัง ภันเตเสนาสนะนิ,  อาคะตานาคะตัสสะ,   จาตุททิสสัสสะ,  ภิกขุสังฆัสสะ  โอโณชะยามะ,  สาธุ  โน  ภันเต,  ภิกขุ สังโฆ,  อิมานิ  เสนาสะนานะ ปะฏิคคัณหาตุ,  อัมหากังทีฆะรัตตัง,  หิตายะสุขายะ,
   คำแปล......          ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ,  ข้าพเจ้าทั้งหลาย,  ขอน้อมถวายเสนาสนะเหล่านี้,   แก่พระภิกษุสงฆ์,  ผู้มาจากทิศทั้งสี่ที่มาแล้วก็ดีที่ยังไม่มาก็ดีขอพระภิกษุสงฆ์จงรับเสนาสนะเหล่านี้,   ของข้าพเจ้าทั้งหลาย,  เพื่อประโยชน์  เพื่อความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย,  สิ้นกาลนาน  เทอญ.
15.คำถวายผ้าวัสสิกสาฏกผ้าอาบน้ำฝน)
          อิมานิ  มะยัง  ภันเต,  วัสสิกะสาฏิกานิ,   สะปะริวารานิภิกขุสังฆัสสะ,  โอโณชะยามะ,  สาธุ  โน  ภันเต,  ภิกขุ สังโฆอิมานิ, วัสสิกะสาฏิกานิ,  สะปะริวารานิ,  ปฎิคคัณหาตุ,  อัมหากัง,  ทีฆะรัตตัง,  หิตายะ,  สุขายะ,
    คำแปล......   ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ,  ข้าพเจ้าทั้งหลาย,  ขอน้อมถวายผ้าอาบ
น้ำฝนกับบริวารเหล่านี้,  แด่พระภิกษุสงฆ์  ขอพระสงฆ์จงรับผ้าอาบน้ำฝนกับทั้งหลายเหล่านี้,  ของข้าพเจ้าทั้งหลาย,  เพื่อประโยชน์  เพื่อความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย,  สิ้นกาลนาน  เทอญ.           
16. คำถวายเทียนพรรษาพร้อม ผ้าอาบน้ำฝน
          อิมานิ  มะยัง  ภันเต,  วัสสิกะสาฏิกานิ,   เจวะ  วัสสิกะปะทีปาน  จะ,  สะปะริวารานิภิกขุสังฆัสสะ,  โอโณชะยามะ,  สาธุ  โน ภันเต,  ภิกขุ สังโฆอิมานิ,  วัสสิกะสาฏิกานิ,  เจวะ,  วัสสิกะปะทีปานิ  จะ,    สะปะริวารานิ,  ปฎิคคัณหาตุ,  อัมหากัญเจวะ,  มาตาปิตุ อาทีนัญจะ,  ปิยะชะนานัง,  ทีฆะรัตตัง,  หิตายะ,  สุขายะ,
   คำแปล.....    ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ,  ข้าพเจ้าทั้งหลาย,  ขอน้อมถวาย  ผ้าอาบน้ำฝนและเทียนพรรษา,  กับบริวารทั้งหลายเหล่านี้,  แด่พระภิกษุสงฆ์  ขอพระสงฆ์จงรับผ้าอาบน้ำฝนและเทียนพรรษากับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้,  ของข้าพเจ้าทั้งหลาย,   เพื่อประโยชน์  เพื่อความสุข,  แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย,  แก่ปิยะชนทั้งหลาย,  มีมารดาบิดาเป็นต้นเป็นด้วย,   สิ้นกาลนาน  เทอญ.     
คำถวายผ้าป่า-ผ้าบังสกุล
อิมานิ,มะยัง ภันเตปังสุกูละจีวะรานิ,  สะปะริวานิ,  ภิกขุสังฆัสสะโอโณชะยามะสาธุ โน  ภันเต,  ภิกขุสังโฆอิมานิ บังสุกูละจีวะรานิ,  สะปะริวารานิปะฏิคคัณหาตุอัมหากังทีฆะรัตตังหิตายะสุขายะ
คำแปล   ขัาแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ,  ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวายผ้าบัง สกุลจีวรกับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้แด่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับผ้าบังสกุลจีวรกับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้ของข้าพเจ้าทั้งหลายเพื่อประโยชน์เพื่อความสุข,  แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย,  สิ้นกาลนาน เทอญ
คำสัตตาหะ
  ในช่วงเข้าพรรษาเมื่อมีกิจจำเป็นที่จะต้องไปค้างคืนที่อื่น  ตามที่วินัยบัญญัติให้ลาได้  แต่ไม่เกิน คืน  วิธีลานั้นบางแห่งเป็นแต่ทำความอาลัยไว้เท่านั้น   บางแห่งมีวิธี คือต้องบอกแก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง  ดังนี้-
           สัตตาหะกะระณียัง  กิจจัง  เม  อัตถิ,  ตัสะมา  มะยา  คัน
ตัพพัง   อิมัสมิง  สัตตาหัพภันตะเร  นิวัตติสสามิ.
              กิจที่จะต้องทำสัตตาหะของผมมีอยู่    เพราะฉะนั้นผมจำต้องไป,   ผมจักกลับมาภายใน ๗ วันนี้,